ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ICT & LEARN.
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
พบประธานกรรมการประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
โครงการจัดตั้งภาควิชาอุตสาหกรรมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
นายภมร ดรุณ นักศึกษาปริญญาเอก สารสนเทศศาสตร์ มสธ. รุ่นที่ 2
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดการศึกษาในชุมชน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญ ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
การออกแบบและการประยุกต์ใช้ หลักสูตรเว็บออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้ทางไกล On the Design and Application of an Online Web Course for Distance Learning.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต รศ. ดร. สมพร พุทธาพิทักษ์ผล สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 26 ตุลาคม 2548

การเรียนรู้ตลอดชีวิต กระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของบุคคลในวัยต่าง ๆ และในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ (ห้องสมุดเป็นหนึ่งในสภาพแวดล้อมสำคัญของการเรียนรู้นี้) การเรียนรู้เริ่มต้นจากการได้รับทักษะและความรู้ (การแสวงหาสารสนเทศ) และทบทวนรวมทั้งปรับเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง เพื่อสนองความเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และการเมือง

บทบาทของห้องสมุด ทรัพยากร สารสนเทศ ผู้ใช้ ห้องสมุด จัดหา หรือบอกรับ ทรัพยากร สารสนเทศ จัดหา หรือบอกรับ เผยแพร่โดยไม่คิดมูลค่า ผู้ใช้ สมาชิกหรือทั่วไป เข้าใช้จากภายในและภายนอก ห้องสมุด

ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตรี บัณฑิตศึกษาหรือผู้เรียนต่าง ๆ ประชาชนทั่วไป walk-ins, via Internet ผลการวิจัยจำนวนมากพบว่า ผู้ใช้นิยมใช้สารสนเทศในอินเทอร์เน็ตมากขึ้นตามลำดับ เพราะความสะดวกต่าง ๆ

ปัจจัยสำคัญ สังคมแห่งการเรียนรู้ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หรือต้นทุนทางมนุษย์ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ การเผยแพร่ทรัพยากรฯ ในอินเทอร์เน็ต นักศึกษาในหลักสูตรต่าง ๆ (จำนวน, การกระจาย ฯลฯ)

บทบาทสำคัญของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา การจัดบริการห้องสมุดกับผู้เรียนรู้ในฐานะบริการพื้นฐานของห้องสมุด (ดั้งเดิมและอื่น ๆ ) การบูรณาการบริการห้องสมุดกับการเรียนรู้ เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่สนองความต้องการและพฤติกรรมของผู้ใช้ที่เปลี่ยนไป (ด้านการศึกษา หัวข้อที่สนใจและการแสวงหาและการใช้สารสนเทศ) และความต้องการของประเทศและสังคม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเครื่องมือสำคัญ การขยายความสามารถในการเข้าถึงสำหรับผู้เรียน

สภาพการเรียนรู้กับห้องสมุด นักศึกษา (วัย ทักษะ ความรู้ความถนัด และความสนใจ) ผู้สอน คณาจารย์ สารสนเทศเพื่อ การเรียนรู้ (ห้องสมุด)

สารสนเทศกับห้องสมุดฯ เนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ (กระดาษ อิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ) เนื้อหาอะไรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และเหมาะสมกับผู้เรียน? ความสำคัญของสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ความสำคัญของสารสนเทศภาษาไทย ตัวแบบของการให้บริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์และภาษาไทยที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเหมาะกับผู้เรียน ?

สารสนเทศกับห้องสมุดฯ (2) คุณภาพของสารสนเทศ (โดยเฉพาะสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ .. ผู้เรียนชอบใช้ ปริมาณมากและคุณภาพหลากหลาย) การพัฒนา Portal เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต การร่วมกับองค์การหรือสถาบันอื่น ๆ ในการสร้างเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ของประเทศหรือสังคม เช่น พิพิธภัณฑ์ แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ห้องสมุดในท้องถิ่น ฯลฯ)

สารสนเทศกับห้องสมุดฯ (3) การพัฒนาทักษะด้านสารสนเทศ (information skills) หรือการรู้สารสนเทศ (information literacy) ห้องสมุดเป็นหน่วยงานสำคัญที่ต้องเร่งพัฒนาเรื่องนี้ให้กับผู้ใช้ เช่น การสอนร่วมกับวิชา การสอนแยกเป็นวิชาเฉพาะ การปฐมนิเทศ การจัดทำสื่อเผยแพร่ การสอนหรือสาธิตเฉพาะตัว เฉพาะกลุ่ม ฯลฯ

สารสนเทศกับห้องสมุดฯ (4) การปรับปรุงรูปแบบการให้บริการ เช่น ทางอิเล็กทรอนิกส์ การทำ pathfinders การจัดทำ help desks หรือ call centers ที่เหมาะสม หรืออื่น ๆ การปรับปรุง protocol การให้บริการที่เหมาะสมกับการให้บริการสำหรับผู้ใช้ที่หลากหลาย วิธีการสื่อสาร วิธีการสอบถาม การสร้าง template หรือแบบฟอร์มในการสอบถามหรือแจ้งความจำนง

บทสรุป บทบาทของห้องสมุดกับวงจรการพัฒนา (สถาบัน การศึกษา ประชาชน) ความรู้อาจเรียนทันกันหมด การศึกษา การเรียนรู้ กับ การเข้าถึงสารสนเทศที่เอื้อและเหมาะสมกับการเรียนรู้ ความร่วมมือในการสร้างเครือข่ายแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต