21. การกำหนดขอบเขตของภาพ (1 จาก 5)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มีนามสกุลของไฟล์ดังนี้ tulip.psh tulip.mpg
Advertisements

บทเรียนเรื่องการตกแต่งภาพโดย Photoshop
FONT FLOWERS การสร้างตัวอักษร ด้วยดอกไม้.
Photoshop Mr.Samer Chunton.
วิธีทำ พื้นหลัง แบบมิติแสง โปร่งใส
Microsoft Office PowerPoint 2003
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : ลูกเล่นโฟโต้ช๊อป
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : โปสการ์ด/กรอบรูป
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
Project Management.
by..Porta Boonyatearana
By…Porta Boonyatearana
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
การแทรกรูปภาพ การนํารูปภาพจากแฟมขอมูลอื่น
การสร้างตาราง Click mouse ที่ปุ่ม จะปรากฏช่องสี่เหลี่ยมแสดง
การสร้างเงาจากรูปวัตถุ
การสร้างเงาของวัตถุหลายชิ้น
เทคนิคการใช้งาน Adobe Photoshop นรินทร บุญพราหมณ์
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
เริ่มต้น Photoshop CS5.
การสร้าง Digital Video ด้วย Window Movie Maker
การใช้งาน Microsoft Windows XP
โปรแกรม DeskTopAuthor
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Word 2003
แบบทดสอบ Photoshop.
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
รายงาน เรื่อง จัดรูปแบบข้อมูล จัดทำโดย ด. ญ. ธิกานดา วัลยาภรณ์ ชั้นม.2/1 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติมองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
วาดภาพสวยด้วย Paint.
การปรับแต่งกราฟฟิกภาพ,สี,Effect ด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop CS
การแต่งรูปภาพด้วยโปรแกรม
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
Principle of Graphic Design
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
Tips and Tools MS Excel By คนควน.
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
วาดรูปด้วย Paint ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
Symbol & Instance.
การตั้งค่า Mouse.
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Flash CS3
CorelDRAW 12.
เทคนิควิธี การซ้อนภาพให้ดูเนียน ด้วย โปรแกรม PhotoShop
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๒ การเรียงภาพหลายภาพเป็นภาพ เดียวกัน ๑. เข้าใช้งานชุดคำสั่ง ADOBE PHOTOSHOP รุ่น ๕. ๕.
กิจกรรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS3.
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
นางสาวขวัญชนก ขจรภพ รหัสนิสิต กลุ่ม B06 คณะพยาบาลศาสตร์
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
เริ่มต้น Photoshop CS5.
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
Adobe Photoshop เทคนิคพิเศษ และฟิลเตอร์
และการทำงานกับตัวอักษร
Graphic Design 03.
มารู้จัก Layer กัน.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
เรื่อง การประยุกต์ใช้ : การม้วน ขอบภาพ / รุ้ง ใบความรู้ โดย..... ครูนิ่มอนงค์ เดชภูงา โรงเรียนศรีปทุมพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33.
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

21. การกำหนดขอบเขตของภาพ (1 จาก 5) เครื่องมือในการเลือกขอบเขตการของภาพ มีอยู่ หลากหลายโดยแบ่งเป็นชุด ดังนี้ ชุดกำหนดขอบเขตด้วยรูปทรง:เครื่องมือ Marquee ชุดกำหนดขอบเขตรูปทรงอิสระ: เครื่องมือ Lasso ชุดกำหนดขอบเขตจากค่าสี: เครื่องมือ Magic Wand

21. การกำหนดขอบเขตของภาพ (2 จาก 5) การใช้เครื่องมือ Marquee คลิกเลือกเครื่องมือ แล้วคลิกเลือกเครื่องมือย่อยที่ต้องการ ต้องการ (หรือคลิกเมาส์ ณ ตำแหน่งที่ต้องการ กรณีที่กำหนดค่า Options เป็น Constrain Aspect Ratio หรือ Fixed Size) หากต้องการเลือกพื้นที่อื่นๆ ให้กดปุ่ม ค้างไว้ แล้วคลิก ณ พื้นที่นั้นๆ กำหนดค่าควบคุมจาก Options Bar นำเมาส์มาชี้ที่ตำแหน่งเริ่มต้นของขอบเขต กดปุ่มเมาส์ค้างไว้ แล้วลากเมาส์ กำหนดขอบเขตตาม

21. การกำหนดขอบเขตของภาพ (3 จาก 5) การใช้เครื่องมือ Lasso คลิกเลือกเครื่องมือ หรือกดปุ่มเมาส์ค้างไว้ที่เครื่องมือ แล้วคลิกเลือกเครื่องมือย่อยที่ต้องการ กำหนดค่าควบคุมจาก Options Bar นำเมาส์ มาชี้ที่ตำแหน่งเริ่มต้นของขอบเขต กดปุ่มเมาส์ค้าง ไว้ แล้วลากเมาส์กำหนดขอบเขต (หรือ คลิกเมาส์ เป็นระยะๆ เพื่อให้ได้ขอบเขตที่ต้องการ)

21. การกำหนดขอบเขตของภาพ (4 จาก 5) การใช้เครื่องมือ Lasso (ต่อ) การยุติการกำหนดขอบเขต กระทำได้สองลักษณะคือ Double Click ณ จุดปลายทาง นำเมาส์กลับไปคลิก ณ จุดเริ่มต้น หากต้องการเลือกพื้นที่อื่นๆ ให้กดปุ่ม ค้างไว้ แล้วคลิก ณ พื้นที่นั้นๆ

21. การกำหนดขอบเขตของภาพ (5 จาก 5) การใช้เครื่องมือ Magic Wand คลิกเลือกเครื่องมือ Magic Wand กำหนดค่าจาก Options Bar โดยเฉพาะค่า Tolerance (ค่ามากจะได้พื้นที่เลือกมาก) นำเมาส์ซึ่งมีรูปร่างเป็น Magic Wand ไปคลิก ณ ตำแหน่งที่ต้องการ หากต้องการเลือกพื้นที่อื่นๆ ให้กดปุ่ม ค้างไว้ แล้วคลิก ณ พื้นที่นั้นๆ

22. การทำงานขอบเขตของภาพ (1 จาก 4) สามารถสั่งการได้ลักษณะเดียวกับการเลือกข้อมูลทั่วไป เช่น การย้าย, การคัดลอก, การย่อ-ขยายขนาด, การลบ เป็นต้น ดังนี้ การยกเลิกการเลือกขอบเขต กระทำได้โดยกดปุ่ม หรือเลือกเมนูคำสั่ง Select, Deselect การย้ายขอบเขต นำเมาส์ ไปชี้ที่เส้นกรอบของ Selection (เส้นประ) แล้วกดปุ่มเมาส์ค้างไว้ ลากไปยังตำแหน่งที่ต้องการ

22. การทำงานขอบเขตของภาพ (2 จาก 4) การบันทึกขอบเขต หากต้องการใช้งานขอบเขตนั้นๆ หลายครั้ง การบันทึกขอบเขตไว้ จะช่วยให้การใช้งาน กระทำได้สะดวกขึ้น โดยเลือกเมนูคำสั่ง Select> Save Selection… จะปรากฏหน้าต่างการ ทำงาน ดังรูป จากนั้นกดปุ่ม OK เพื่อยืนยันการบันทึกขอบเขต

22. การทำงานขอบเขตของภาพ (3 จาก 4) การเรียกใช้ขอบเขตที่บันทึกไว้ เมื่อต้องการใช้งานขอบเขตที่บันทึกไว้ สามารถเรียกใช้ งานจากเมนูคำสั่ง Select > Load Selection… ซึ่งจะปรากฏหน้าต่าง การทำงานดังรูป กรณีที่มีการบันทึก ขอบเขตไว้หลายชิ้น และสามารถเลือก ขอบเขตที่ต้องการ จากรายการ Channel แล้วคลิกปุ่ม OK

22. การทำงานขอบเขตของภาพ (4 จาก 4) การย้ายภาพ ภาพที่กำหนดขอบเขตไว้ สามารถย้าย ตำแหน่งโดยการคลิกปุ่มเครื่องมือ Move ตำแหน่งที่ย้ายไป จะถูกแทนที่ด้วยสีของ Background Color ดังนั้นควรเลือก Background Color ก่อนใช้คำสั่งนี้

23. การเลือกบางส่วนของภาพมาใช้งาน (Marquee+Crop Image 1 จาก 3) ในบางครั้ง ผู้ใช้อาจจะต้องการตัดเพียงบางส่วนของภาพ มาใช้งาน เราเรียกขั้นตอนการเลือกภาพ และตัดภาพเฉพาะส่วนที่เลือกแล้วนี้ว่า Crop ซึ่ง PhotoShop มีคำสั่งดังนี้ เปิดไฟล์ภาพที่ต้องการ เลือกเครื่องมือ Marquee หากไม่ปรากฏเครื่องมือนี้ เราสามารถเปลี่ยนกลับโดยการนำเมาส์ มาคลิกค้างไว้ที่ปุ่มเครื่องมืออันแรกใน แถบเครื่องมือ จะปรากฏชุดเครื่องมือ ดังภาพ จากนั้นเลือกเครื่องมือ Marquee อีกครั้ง

23. การเลือกบางส่วนของภาพมาใช้งาน (Marquee+Crop Image 2 จาก 3) นำเมาส์ซึ่งมีรูปร่างเป็นกากบาทเล็กๆ มาชี้ ณ มุมบนซ้ายของตำแหน่งภาพ ที่ต้องการ กดปุ่มเมาส์ค้างไว้ ลากเมาส์จะปรากฏ เส้นประ ให้ลากเมาส์ ให้ได้ขนาดของเส้น ประที่คลุมภาพที่ต้องการ หากต้องการยกเลิกการเลือกพื้นที่ภาพ ให้เลือกคำสั่ง Select> None

23. การเลือกบางส่วนของภาพมาใช้งาน (Marquee+Crop Image 3 จาก 3) เมื่อได้ขนาดของภาพที่ต้องการ ก็จะทำการตัดภาพ ด้วยคำสั่ง Image, Crop จากภาพตัวอย่าง จะได้ผลลัพธ์ ดังนี้ คำสั่ง Image, Crop จึงมีหน้าที่ตัดส่วนของภาพที่สนใจ เพื่อนำไปใช้งาน

24. การเลือกบางส่วนของภาพมาใช้งาน (Crop Image 1 จาก 3) สามารถใช้เครื่องมือ Crop อันเป็นเครื่องมือเฉพาะมาดำเนินการได้เช่นเดียวกับเครื่องมือ Marquee เปิดไฟล์ภาพที่ต้องการ เลือกเครื่องมือ Crop Tool หากไม่ปรากฏเครื่องมือนี้ เราสามารถเปลี่ยนโดยการนำเมาส์มาคลิก ค้างไว้ที่ปุ่มเครื่องมืออันแรก จะปรากฏชุด เครื่องมือ ดังภาพ จากนั้นเลื่อนเมาส์เพื่อเลือกเครื่องมือ Crop

(Crop Image 2 จาก3) 24. การเลือกบางส่วนของภาพมาใช้งาน นำเมาส์ซึ่งมีรูปร่าง มาชี้ ณ มุม บนซ้ายของตำแหน่งภาพที่ต้องการ กดปุ่มเมาส์ค้างไว้ ลากเมาส์ จะปรากฏเส้นประ ให้ลากเมาส์ให้ได้ขนาดของเส้นประที่คลุมภาพที่ต้องการ หากต้องการยกเลิกการเลือกพื้นที่ภาพ ให้กดปุ่ม <ESC> สามารถปรับขนาดของพื้นที่เลือกภาพ โดยการนำเมาส์ไปชี้ที่จุดสี่เหลี่ยมของกรอบพื้นที่ แล้ว Drag & Drop ให้ได้ขนาดที่ต้องการ

(Crop Image 3 จาก3) 24. การเลือกบางส่วนของภาพมาใช้งาน สามารถกำหนดรูปแบบ และตำแหน่งของพื้นที่เลือก Crop โดยการหมุนพื้นที่ ซึ่งกระทำได้ดังนี้ นำเมาส์ไปคลิกที่ริมนอก ของจุดสี่เหลี่ยมที่มุม Cursor จะเปลี่ยนรูปร่างเป็นลูกศรโค้งๆ Drag & Drop เพื่อหมุนพื้นที่ให้ได้ตามที่ต้องการ เมื่อได้ขนาดของภาพที่ต้องการ ก็จะทำการตัดภาพ ด้วยการกดปุ่ม

25. การขยายพื้นที่ของหน้าต่างภาพ ภาพบางภาพ อาจจะมีขนาดเล็ก ทำให้ไม่สามารถปรับแต่งหรือตกแต่งได้สะดวก เราสามารถขยาย พื้นที่ของหน้าต่างภาพนั้นๆ ได้โดย เลือกเมนูคำสั่ง Image> Canvas Size… ปรากฏกรอบทำงานดังนี้ กำหนดขนาดความกว้าง และความสูงที่ต้องการ นำเมาส์ไปคลิก ตำแหน่ง ที่ต้องการวางภาพเดิม จากรายการ Anchor: คลิกปุ่ม OK

26. คำสั่งปรับแต่งภาพ (1 จาก 6) การปรับแต่งสีภาพจากการสแกน หรือภาพจากแหล่งอื่นๆ ให้เลือกใช้คำสั่ง Image> Adjust> Level Levels เป็นการปรับความ สว่าง-มืดของภาพ โดยการเติมสีขาว-ดำลง ไป ซึ่งเราจะใช้กราฟ Histogram ในการปรับ ระดับสี กด Alt ค้างไว้ จะเปลี่ยน ปุ่ม Cancel เป็น Reset ทำให้กลับไปที่ค่าเริ่มต้น

26. คำสั่งปรับแต่งภาพ (2 จาก 6) Auto Levels เป็นการปรับความสว่าง-มืดของ ภาพ โดยอัตโนมัติ ซึ่งจะคำนึงถึงระดับความสว่าง และมืดของสีในแต่ละ Channel Auto Contrast เป็นการปรับความสว่าง-มืดของ ภาพ โดยอัตโนมัติ ซึ่งจะคำนึงถึงพื้นที่ที่สวางและ มืดของภาพ แล้วปรับให้เห็นความชัดเจนมาก ยิ่งขึ้น

26. คำสั่งปรับแต่งภาพ (3 จาก 6) Curves เป็นการปรับความสว่าง-มืดของภาพ คล้าย กับ Levels โดยการใช้เส้น Curves เป็นตัวกำหนด ซึ่ง จะเป็นการเปรียบเทียบระหว่างสีเดิมกับสีใหม่

26. คำสั่งปรับแต่งภาพ (4 จาก 6) Color Balance เป็นการปรับแต่งความสมดุลของสีภาพ โดยใช้โหมดสีเป็นตัวกำหนด เช่น CMYK, RGB.. Brightness/Contrast เป็นการปรับค่าความสว่าง-มืด และความแตกต่างของสีโดยรวม Hue/Saturation เป็นการปรับแต่งโทนสีโดยคำนึงถึงพื้นฐานการมองเห็นของมนุษย์คือ Hue = ค่าความสะท้อนแสง Saturation = ความเข้มข้นของสี Brightness = ความสว่าง-มืด

26. คำสั่งปรับแต่งภาพ (5 จาก 6) Desaturate เป็นการเอาค่าสีออกจากภาพให้เหลือแต่สี ขาว-ดำ โดยที่โหมดภาพจะยังคงเดิม Channel Mixer เป็นการปรับแต่งโทนสีแต่ละสีโดยใช้ โหมดสีเป็นตัวกำหนด เช่น CMYK,RGB Invert เป็นการปรับสีในภาพให้เป็นสีตรงข้าม Equalize เป็นการกระจายค่าความสว่าง-มืดของภาพ ให้ มีค่าเท่ากัน มักใช้กับภาพที่สแกนมา Threshold เป็นการเปลี่ยนภาพสี ให้เป็นภาพที่มีแต่สี ขาว-ดำ โดยใช้ค่า Threshold เป็นตัวกำหนด

26. คำสั่งปรับแต่งภาพ (6 จาก 6) Replace Color เป็นการแทนที่สีในภาพด้วยสีใหม่

27. การพิมพ์ข้อความ (1 จาก 6) เปิดไฟล์ภาพ หรือสร้างชิ้นงานใหม่ คลิกเลือกเครื่องมือ Text Tool เลือกรูปแบบอักษรจาก Text Options Bar รูปแบบการสร้างอักษร ตัว T เส้นทึบสร้างอักษรที่มีสีตามค่าที่ กำหนด และปรากฏเป็นเลเยอร์ข้อความ ขณะที่ตัว T เส้นประ จะสร้างอักษรในเลเยอร์ปัจจุบัน และปรากฏเฉพาะเส้นโครงร่าง เลือกทิศทางการพิมพ์ คลิก

27. การพิมพ์ข้อความ (2 จาก 6) เลือกแบบอักษร เลือกลักษณะอักษร เลือกขนาดอักษร เลือกรูปแบบของเส้นขอบรอบอักษร เลือกตำแหน่งการวางข้อความ

27. การพิมพ์ข้อความ (3 จาก 6) เลือกสีข้อความ

27. การพิมพ์ข้อความ (4 จาก 6) เลือกลักษณะพิเศษ นำเมาส์ไปคลิก ณ ตำแหน่ง ที่ต้องการพิมพ์ข้อความ พิมพ์ข้อความที่ต้องการ สามารถใช้ปุ่ม เพื่อขึ้นบรรทัดใหม่ หรือคลิกBackspace เพื่อลบแก้ไข

27. การพิมพ์ข้อความ (5 จาก 6) ขณะที่พิมพ์ สามารถ Select ตัวอักษร และปรับแต่ง เฉพาะตัวอักษรได้ ขณะที่พิมพ์ สามารถย้ายตำแหน่งข้อความ โดยนำ เมาส์ไปชี้ริมด้านขวาของข้อความ จะมีลักษณะดังรูป จากนั้นกดปุ่มเมาส์ค้างไว้ ลากไปยังตำแหน่งที่ต้องการ หรือกดปุ่ม ค้างไว้ แล้วลากไปยังตำแหน่งที่ ต้องการ เมื่อต้องการยุติการพิมพ์ ให้คลิกเมาส์ที่ปุ่มเครื่องมืออื่น หรือคลิกที่ปุ่ม

27. การพิมพ์ข้อความ (6 จาก 6) หมายเหตุ สำหรับเครื่องมือ Type Mask จะปรากฏเป็นเส้นโครง- ร่าง ซึ่งต้องใช้คำสั่ง ต่อไปนี้จัดการ เลือกสี Foreground ซึ่งจะใช้เป็นสีของเส้นขอบ แล้วเลือกคำสั่ง Edit, Stroke เพื่อเติมเส้นขอบ ข้อความ เลือกสี Background ซึ่งจะใช้เป็นสีพื้นของข้อความ แล้วเลือกคำสั่ง Edit, Fill, Background Color เพื่อ เติมสีพื้นของข้อความ

28. การลบข้อความ การลบข้อความ จะอาศัย Layer Palette (เปิดด้วยคำสั่ง Window> Show Layers) ข้อความที่พิมพ์ไปด้วย Text Tool จะมี ลักษณะ 1 ข้อความต่อ 1 เลเยอร์ ดังนั้นหากต้องการลบข้อความใด ให้นำเมาส์ไปคลิก ณ เลเยอร์ที่ต้องการ ลบ แล้วลากเลเยอร์นั้นไปวางบนไอคอนถังขยะ

29. การแก้ไขข้อความ ข้อความที่พิมพ์ไปแล้ว สามารถแก้ไขได้ โดยคลิกเลือก เครื่องมือ Text Tool นำเมาส์ไปคลิก ณ ตำแหน่งข้อความ ที่ต้องการแก้ไข โดยจะต้องเลือก Layer ให้ถูกต้อง แก้ไขข้อความเสร็จแล้วก็คลิกปุ่ม หรือแก้ไขโดย Double Click ใน รายการ Layer Thumbnail ของเลเยอร์ ข้อความที่ต้องการบน Layer Palette

30. การใส่ลักษณะพิเศษให้กับข้อความ (1 จาก2) ข้อความต่างๆ สามารถเติมลักษณะพิเศษได้ เช่น อักษรนูน, มีเงา เป็นต้น เปิด Layer Palette คลิกเลือกเลเยอร์ที่ต้องการ คลิกที่ปุ่ม Add a Layer Style ด้านล่างของ Layer Palette เลือกรายการ Layer Style ที่ต้องการ

30. การใส่ลักษณะพิเศษให้กับข้อความ (2 จาก2) ปรากฏหน้าต่าง Layer Style ที่เลือก เช่น เมื่อเลือก Drop Shadow จะปรากฏรายการเลือก ดังนี้ ปรับค่าที่ต้องการ สามารถสังเกตผลที่ เลือก ได้จาก ข้อความจริง เมื่อ ได้ผลที่ต้องการให้ คลิกปุ่ม OK การยกเลิก Style ที่เลือก ให้คลิกเอาเครื่องมือถูกออก จากรายการ Style ที่ปรากฏด้านซ้ายมือของหน้าต่าง Layer Style

31. การทำตัวอักษรนูนแบบง่ายๆ (1 จาก 6) เปิดไฟล์ใหม่ด้วยพื้นที่ขนาด 640 x 480 pixel > Resolution 72 pixel/inch > Mode RGB เลือกเครื่องมือ Type Tool เลือกสีจากกรอบสี (สีตัวอักษรจะควบคุมจากกรอบสี อันบน) นำเมาส์ไปคลิก ณ จุดที่เริ่มต้นวางข้อความ

31. การทำตัวอักษรนูนแบบง่ายๆ (2 จาก 6) พิมพ์ข้อความ เลือกแบบอักษร (Font), ขนาด (Size) และลักษณะที่ต้องการ จากกรอบทำงานเกี่ยวกับอักษร

32. การทำตัวอักษรนูนแบบง่ายๆ (3 จาก 6) เมื่อคลิก OK จะปรากฏข้อความที่เลือกในพื้นที่งาน เปิดหน้าต่างการทำงานเลเยอร์ ด้วยคำสั่ง Window > Show Layer

32. การทำตัวอักษรนูนแบบง่ายๆ (4 จาก 6) เลื่อน/ปรับหน้าต่างเลเยอร์ให้อยู่ชิดด้านขวาของ จอภาพ ทำ Selection รอบข้อความโดยคลิกปุ่มขวาของเมาส์ในกรอบสีขาวของรายการ Layer 1 เลือกรายการคำสั่ง Select Layer Transparency

32. การทำตัวอักษรนูนแบบง่ายๆ (5 จาก 6) ปรากฏเส้นประรอบข้อความที่เลือก เลือกคำสั่ง Filter> Render> Lighting Effects…

32. การทำตัวอักษรนูนแบบง่ายๆ (6 จาก 6) เปลี่ยนรายการ Texture Channel เป็น Layer 1 Transparency แล้ว OK จะได้ข้อความในลักษณะตัวนูน (ก่อนคลิก OK อาจจะปรับเปลี่ยนตำแหน่งของจุดกำเนิดแสง, ทิศทางแสง และรัศมีของแสงจากกรอบตัวอย่างได้) ยกเลิกเส้นประรอบข้อความ (Select) ด้วยคำสั่ง Select> None

33. การทำตัวอักษรนูนโดยใช้ลวดลายจากพื้นต้นแบบ (1 จาก 3) เปิดไฟล์ภาพที่ต้องการ (ต้องเป็นไฟล์ที่รวมเลเยอร์ แล้วเท่านั้น) เช่น เปิดไฟล์ภาพชื่อ fruit.jpg เลือกเครื่องมือ Type Mask โดยกดคลิกปุ่ม เครื่องมือ Type Tool ค้างไว้ แล้วเลือก เครื่องมือ Type Mask เลือกปุ่ม Default Color เพื่อเปลี่ยนสีกลับมาเป็นสี ดำ/ขาว

33. การทำตัวอักษรนูนโดยใช้ลวดลายจากพื้นต้นแบบ (2 จาก 3) นำเมาส์ไปคลิก ณ จุดที่เริ่มต้นวางข้อความ พิมพ์ข้อความ เลือกแบบอักษร (Font), ขนาด (Size) และลักษณะที่ต้องการ จากกรอบทำงาน เกี่ยวกับอักษร เมื่อคลิก OK จะปรากฏโครงร่างของข้อความที่เลือก ในพื้นที่งาน

33. การทำตัวอักษรนูนโดยใช้ลวดลายจากพื้นต้นแบบ (3 จาก 3) เลือกคำสั่ง Select, Inverse แล้วกดปุ่ม <Delete> จะได้ตัวอักษรที่มีลวดลายจากภาพต้นแบบ เลือกคำสั่ง Select, Inverse อีกครั้ง จากนั้นเลือก คำสั่ง Select, Save Selection กดปุ่ม OK เลือกคำสั่ง Filter> Render> Lighting Effects… เปลี่ยนรายการ Texture Channel เป็น #4 แล้วกด ปุ่ม OK

34. ภาพ Background เลือกคำสั่ง File, New กำหนดขนาดพื้นที่สัก 2 นิ้ว x 2 นิ้ว, ความละเอียด 72 dpi, โหมด RGB ใส่ลวดลายด้วยคำสั่ง Filter> Texture> Texturizer ปรากฏ กรอบคำสั่งดังรูป ลองคลิกเลือก ค่าต่างๆ ในกรอบคำสั่ง จะเห็น ลวดลายต่างๆ กันออกไป ได้ ลวดลายที่ต้องการ คลิก ok นอกจากนี้อาจเทสีลงให้เป็นพื้น ก่อนใช้คำสั่งก็ได้ ผลก็จะแตกต่าง ออกไป

35. ภาพ Background ท้องฟ้า เลือกคำสั่ง File> New กำหนดขนาดพื้นที่, ความละเอียด 72 dpi, โหมด RGB เลือกสีที่ต้องการ (เช่น น้ำเงิน กับขาว) เลือกคำสั่ง Filter, Render, Clouds จะปรากฏผลดังนี้ สามารถใช้คำสั่งซ้ำได้ เผื่อได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ สามารถเปลี่ยนสี เป็นสี อื่นได้

36. ภาพ Background แบบผิวขรุขระ (1 จาก 5) สร้างไฟล์ภาพขนาด 100 x 100 Pixels

36. ภาพ Background แบบผิวขรุขระ (2 จาก 5 ) เลือกคำสั่ง Filter> Noise> Add Noise โดยกำหนดค่าตาม ตัวอย่าง (ปรับได้ตาม ต้องการ) เพื่อสร้างลาย ขรุขระ

36. ภาพ Background แบบผิวขรุขระ (3 จาก 5) ปรับผิวให้นูนเล็กน้อย ด้วย Filter> Stylise> Emboss แล้วปรับค่า ตามตัวอย่าง (ปรับได้ ตามต้องการ)

36. ภาพ Background แบบผิวขรุขระ (4 จาก 5 ) เปิดเลเยอร์ใหม่ด้วยปุ่ม เลือกสีที่ต้องการ แล้ว เติมสีในเลเยอร์ใหม่ ด้วยคำสั่ง Edit> Fill

36. ภาพ Background แบบผิวขรุขระ (5 จาก 5 ) ปรับค่า Opacity จาก หน้าต่างเลเยอร์ ดูผลที่ เกิดขึ้น สามารถเปลี่ยนสีใหม่ได้ โดยการคลิกที่เลเยอร์ที่ ลงสีเดิม แล้วเลือกสีใหม่ จากนั้นจึงเติมสีใหม่ด้วย คำสั่ง Edit> Fill

37. ภาพ Background แบบผิวลายไม้ (1 จาก 5) สร้างไฟล์ภาพขนาด 100 x 100 Pixels

37. ภาพ Background แบบผิวลายไม้ (2 จาก 5 ) เลือกคำสั่ง Filter> Noise> Add Noise โดยกำหนดค่าตาม ตัวอย่าง (ปรับได้ตาม ต้องการ) เพื่อสร้างลาย

36. ภาพ Background แบบผิวลายไม้ (3 จาก 5) ปรับผิวให้นูนเล็กน้อย ด้วย Filter> Stylise> Emboss แล้วปรับค่า ตามตัวอย่าง (ปรับได้ ตามต้องการ)

37. ภาพ Background แบบผิวลายไม้ (4 จาก 5 ) ทำผิวขรุขระให้มีลักษณะเป็นลายไม้ ด้วยคำสั่ง Filter> Blur> Motion Blur แล้วตั้งค่าดังตัวอย่าง

37. ภาพ Background แบบผิวลายไม้ (5 จาก 5 ) สามารถเปลี่ยนสีใหม่ได้โดย เลือกเมนูคำสั่ง Image> Adjust> Color Balance จะได้ผลลัพธ์ลักษณะดังนี้

38. ภาพซ้อน (1 จาก 3 ) เปิดไฟล์ภาพแรกขึ้นมาก่อน (ตัวอย่างไฟล์ภาพชื่อ shoes.jpg จากโฟลเดอร์ samples ของ Adobe) จากนั้นเปิดไฟล์ภาพ fruit.jpg จากโฟลเดอร์เดิม เปิดหน้าต่าง Layer ด้วยคำสั่ง Window> Show Layers

38. ภาพซ้อน (2 จาก 3 ) คลิกเครื่องมือ Marquee นำเมาส์ไปลากเส้นประ บนภาพ fruit ให้ได้พื้นที่และขนาดที่ต้องการ กดปุ่ม <Ctrl> <C> ย้ายการทำงานไปจอภาพ shoes ด้วยคำสั่ง Window> Shoes นำภาพที่คัดลอกมาวางด้วยคำสั่ง <Ctrl> <V> ภาพที่คัดลอกไว้จะมาซ้อนภาพต้นฉบับ คือ ภาพ shoes

38. ภาพซ้อน (3 จาก 3 ) สังเกตหน้าต่าง Layers จะเห็น Layer กับ Background ค่อยๆ เลื่อนสายตา ไปด้านบนของหน้าต่าง Layer จะเห็นรายการ เลือกชื่อ Normal ลองกดปุ่มสามเหลี่ยม Drop Down List ของรายการ Normal จะปรากฏอะไรอีกมากมาย เช่น เลือกรายการ Screen> Overlay ลองเลื่อนค่า Opacity ดู ผลก็จะเปลี่ยนไปอีกลักษณะ หนึ่งด้วย

39. การตัดภาพ (1 จาก 5) การนำเอาภาพขนาดใหญ่ มาใส่ในเว็บเพจ จะทำให้การโหลดภาพเสียเวลามาก วิธีที่ดีที่สุด คือควรตัดภาพเป็นชิ้นเล็ก แล้วนำภาพมาประกอบกันเป็นชิ้นอีกครั้ง เตรียมภาพที่ต้องการ และเปิดไว้บนหน้าต่างการทำงานของ Adobe Photoshop ขยายหน้าต่างภาพ ให้เห็นพื้นที่ว่างรอบภาพ

39. การตัดภาพ (2 จาก 5) เปิดแถบบรรทัด ด้วยคำสั่ง View, Show Rulers เลือกเครื่องมือ Move Tool นำเมาส์ไปชี้ในแถบไม้บรรทัด คลิกปุ่มเมาส์ค้างไว้ แล้วลากเมาส์ (กรณีที่ชี้ที่บรรทัดแนวนอน ก็ให้ลากเมาส์ลงมา และกรณีที่ชี้ในไม้บรรทัดแนวตั้ง ก็ให้ลากเมาส์ไปด้านขวา) จะปรากฏเส้นนำสายตา (Guide Line : มักเป็นสีน้ำเงิน) เลื่อนเส้นนำสายตา ไปยังตำแหน่งที่เหมาะสมของภาพ แล้วปล่อยนิ้วจากเมาส์ เพื่อยืนยันตำแหน่ง

39. การตัดภาพ (3 จาก 5) หากต้องการตำแหน่งอื่น ก็ทำขั้นตอนที่ 5 - 6 ซ้ำ จนได้ครบทุกตำแหน่ง ถ้าต้องการปรับตำแหน่งของเส้นนำสายตา ที่วางไว้แล้ว ให้นำเมาส์ไปชี้ที่เส้นนั้นๆ จะพบว่า Mouse Pointer มีรูปร่างเป็นลูกศรสองหัว ให้กดปุ่มเมาส์ค้างไว้ แล้วปรับตำแหน่ง ถ้าต้องการลบเส้นนำสายตาเส้นใด ให้นำเมาส์ลากเส้นนำสายตาเส้นที่ต้องการ ไปปล่อยในแถบไม้บรรทัด

39. การตัดภาพ (4 จาก 5) หากต้องการลบเส้นนำสายตาทุกเส้น ให้เลือกคำสั่ง View> Clear Guides ตรวจสอบว่าภาพมีการกำหนดเป็น Layer หรือไม่ หากเป็น Layer จะต้องทำการรวม Layer ก่อน ด้วย คำสั่ง Layer> Flatten Image เปลี่ยนเครื่องมือเป็น Selection Tools ที่ต้องการ เช่น กำหนดพื้นที่รอบกรอบที่กำหนดไว้ ทีละกรอบ เลือกคำสั่ง Edit> Copy เพื่อคัดลอกข้อมูลที่เลือก ไว้ใน Clipboard

39. การตัดภาพ (5 จาก 5) เลือกคำสั่ง File, New เพื่อเปิดพื้นที่งานใหม่ โดยไม่ต้องตั้งค่าใดๆ ให้กดปุ่ม <Enter> ได้เลย เลือกคำสั่ง Edit> Paste เพื่อวางข้อมูลจาก Clipboard บนหน้าต่างที่เตรียมไว้ จัดเก็บงาน ด้วยไฟล์ฟอร์แมตที่ต้องการ ทำขั้นตอนที่ M- Q ซ้ำ กับภาพตำแหน่งอื่น

40. สร้างปุ่มสี่เหลี่ยม (1 จาก 2) เปิดไฟล์ใหม่ สร้าง Selection สี่เหลี่ยมใน Layer จากนั้นใช้ Gradient Tool ไล่สีลงไปดังภาพแรก ไปที่เมนู Select> Modify> Contract ใช้ในการย่อ Selection ใส่ค่า Pixel ดังภาพ

40. สร้างปุ่มสี่เหลี่ยม (2 จาก 2) เส้น Selection จะหดเข้าไปในรูป ปรากฏผลดังนี้ ใช้ Gradient Tool ไล่สีลงไปใน Selection ที่ปรับแล้ว ให้ลากเคอร์เซอร์ในทิศทางตรงกันข้ามกับครั้งแรก

41. สร้างปุ่มวงกลม (1 จาก 2) เปิดไฟล์ใหม่ ก่อนอื่นไปที่เมนู View / Show Rulers เพื่อเปิด แถบไม้บรรทัด แล้วลากเส้น Guide (สีฟ้า) ออกมา โดยการคลิกลากจาก Ruler ด้านข้างและด้านบน เพื่อสร้างกรอบ ถ้าเส้นไหนไม่ต้องการให้กด <Ctrl> ค้างไว้แล้วไปเลือกที่เส้น คลิกลากไปไว้ที่ Ruler ใช้ Selection Tool สร้างวงกลม ให้กด <Shift> ขณะลากเมื่อต้องการให้เป็นทรงกลม

41. สร้างปุ่มวงกลม (2 จาก 2) ใช้ Radial Gradient Tool ลากจากมุมเยื้องขวาบนให้ ได้ดังรูป ใช้คำสั่ง Bevel and Emboss Effect จากเมนู Layer / Effect

42. สร้างปุ่มทรงอิสระ (1 จาก 3) สร้างชิ้นงานใหม่ คลิกปุ่ม Create a new layer สร้างเลเยอร์ใหม่ คลิกปุ่มเครื่องมือวาดสี่เหลี่ยม ปรากฏ Options Bar ดังนี้ คลิกเลือกรูปทรงที่ต้องการ

42. สร้างปุ่มทรงอิสระ (2 จาก 3) กรณีที่คลิกเลือกรูปทรง จะปรากฏรายการย่อย Shape ดังนี้ สามารถคลิกเลือกรูปทรงอื่นๆ ตามต้องการได้เช่นกัน คลิกเลือก Style ที่ต้องการ

42. สร้างปุ่มทรงอิสระ (3 จาก 3) เมื่อเสร็จแล้วจึงตัดภาพ (ดูเรื่องที่ 23. การเลือก บางส่วนของภาพมาใช้งาน) ให้ได้ขนาดที่ต้องการ แล้วจึงจัดเก็บด้วยคำสั่ง File> Save for Web (ดูเรื่อง ที่ 13.คำสั่ง Save for Web) ลองสร้างเส้นกราฟิกหลายรูปแบบ โดยยึดหลัก 1 เส้น ต่อ 1 เลเยอร์ ดังนั้นก่อนสร้างงาน จะต้องคลิกปุ่ม Create a new layer เพื่อสร้างเลเยอร์ใหม่ก่อน ทุกครั้ง

43. เส้นกราฟิก แบบที่ 1 (1 จาก 4) สร้างชิ้นงานใหม่ เปิด Layer Palette คลิกปุ่ม Create a new layer จะปรากฏชั้นเลเยอร์ ใหม่ เลือกเครื่องมือ Marquee แบบสี่เหลี่ยม

43. เส้นกราฟิก แบบที่ 1 (2 จาก 4) สร้าง Selection ยาวๆ แต่บางๆ เลือกสีที่ต้องการ โดยคลิกที่ปุ่ม Foreground Color

43. เส้นกราฟิก แบบที่ 1 (3 จาก 4) เติมสีที่เลือกลงใน Selection ด้วยคำสั่ง Edit>Fill ปรากฏกรอบลงสีดังนี้ เลือกรายการ Use: ให้ตรงกับสีที่เลือกไว้ คลิกปุ่ม OK เพื่อยืนยันการเติมสี

43. เส้นกราฟิก แบบที่ 1 (4 จาก 4) สามารถเติม Style ได้ตามที่ต้องการ ด้วยปุ่ม เมื่อเสร็จแล้วจึงตัดภาพให้ได้ขนาดที่ต้องการ แล้วจึง จัดเก็บด้วยคำสั่ง File, Save for Web กดปุ่ม เพื่อยกเลิกเส้น Selection ทดลองสร้างเส้นกราฟิกหลายรูปแบบ โดยยึดหลัก 1 เส้นต่อ 1 เลเยอร์ ดังนั้นก่อนสร้างงาน จะต้องคลิกปุ่ม Create a new layer เพื่อสร้างเลเยอร์ใหม่ก่อนทุก ครั้ง

44. เส้นกราฟิก แบบที่ 2 (1 จาก 6) ใช้เครื่องมือ Paintbrush สร้างชิ้นงานใหม่ เปิด Layer Palette คลิกปุ่ม Create a new layer จะปรากฏชั้น เลเยอร์ใหม่ คลิกปุ่มเครื่องมือ Paintbrush

44. เส้นกราฟิก แบบที่ 2 (2 จาก 6) ปรากฏ Paintbrush Options Bar ที่ด้านบนของ หน้าต่าง คลิกที่รายการ Brush ปรากฏรายการ ดังนี้

44. เส้นกราฟิก แบบที่ 2 (3 จาก 6) คลิกปุ่ม Control Menu เลือกรายการย่อย Assorted Brushes.abr ปรากฏหน้าต่างสอบถามการแสดงผล คลิกเลือก Append เพื่อเพิ่มรูปร่างของเครื่องมือ Brush คลิกเลือกรูปแบบ Brush ที่ต้องการ

44. เส้นกราฟิก แบบที่ 2 (4 จาก 6) คลิกขวาที่รูปแบบ Brush ที่ต้องการ ปรากฏ รายการย่อย ดังนี้ ปรับค่า Spacing ให้มากกว่า 100% คลิกเลือกสี Foreground ตามต้องการ

44. เส้นกราฟิก แบบที่ 2 (5 จาก 6) เมาส์มาคลิก ณ ตำแหน่งหนึ่งบนหน้าต่างงาน ลาก ไปอีกด้านหนึ่ง (ขณะที่ลากสามารถกดปุ่ม เพื่อ ควบคุมให้การลากเป็นเส้นตรงเรียบ) ปรากฏเส้นกราฟิกเป็นรูปภาพที่เลือก ปรับแต่งลักษณะของเส้นกราฟิกด้วยปุ่ม Style หรือหน้าต่างรายการ Style เช่นกัน

44. เส้นกราฟิก แบบที่ 2 (6 จาก 6) เมื่อเสร็จแล้วจึงตัดภาพให้ได้ขนาดที่ต้องการ แล้ว จึงจัดเก็บด้วยคำสั่ง File, Save for Web ลองสร้างเส้นกราฟิกหลายรูปแบบ โดยยึดหลัก 1 เส้นต่อ 1 เลเยอร์ ดังนั้นก่อนสร้างงาน จะต้องคลิก ปุ่ม Create a new layer เพื่อสร้างเลเยอร์ ใหม่ก่อนทุกครั้ง

45. ภาพขอบเบลอ (1 จาก 4)  "ภาพขอบเบลอ" หรือ "ภาพขอบฟุ้ง" เป็นภาพที่นำมาปรับแต่ง โดยการใส่ลักษณะ ขอบภาพแบบ Soft เพื่อทำให้ภาพโดยเฉพาะบริเวณขอบดูนุ่มนวลขึ้นนั่นเอง มีวิธีการทำ ดังนี้ เปิดไฟล์ภาพที่ต้องการ ปรับขนาด และปรับแต่งสีภาพ เลือกเครื่องมือ Marquee ตามต้องการ เช่น เครื่องมือเลือกภาพแบบสี่เหลี่ยม หรือเครื่องมือ เลือกภาพแบบวงกลม/วงรี

45. ภาพขอบเบลอ (2 จาก 4) ทำเส้นประ คลุมภาพที่ต้องการ โดยนำเมาส์ มาชี้ ณ มุมบนซ้ายของตำแหน่งภาพ แล้วลาก เมาส์ ให้ได้ระยะเส้นประที่ต้องการ

45. ภาพขอบเบลอ (3 จาก 4) เลือกคำสั่ง Select> Feather ปรากฏกรอบทำงาน ป้อนตัวเลขค่าความฟุ้งของภาพ ค่ายิ่งมาก ความ ฟุ้งของภาพยิ่งสูง จากนั้นกดปุ่ม OK

45. ภาพขอบเบลอ (4 จาก 4) ต่อไปจะเป็นขั้นตอนสำคัญ คือ การตัดภาพให้เลือก เฉพาะภาพที่เลือกไว้ โดยจะตัดขอบนอกออก ทั้งหมด ด้วยเลือกคำสั่ง Select> Inverse แล้วกด ปุ่ม <Del> โปรแกรมจะตัดพื้นที่รอบนอก Selection ออก และแสดงขอบแบบฟุ้ง ดังรูป

46. การทำภาพที่มีขอบลักษณะต่างๆ (1 จาก 2) เปิดภาพที่ต้องการ ปรับโหมดด้วยคำสั่ง Image> Mode> RGB Color แต่งภาพด้วยคำสั่ง Image> Adjust, … ย่อภาพให้มีขนาดตามที่ต้องการด้วยคำสั่ง Image> Image Size… ปรับแต่งภาพให้ได้ลักษณะที่ต้องการ คลิกเลือกเครื่องมือ Marquee ตามที่ต้องการ นำเมาส์มาสร้างเส้น Selection บริเวณที่ต้องการ ควร มีพื้นที่ขอบรอบนอกด้วย

46. การทำภาพที่มีขอบลักษณะต่างๆ (2 จาก 2) เลือกเมนูคำสั่ง Select, Inverse เพื่อกลับค่าการเลือกเป็นเลือกขอบ เลือกเมนูคำสั่ง Filter> … เลือก และปรับแต่งค่าตามต้องการ Filter>Texture>Stained Glass Filter>Bursh>Strokes> ...

47. ภาพแบบ Sepia (1 จาก 2) เป็นภาพกราฟิกอีกรูปแบบหนึ่งที่มีโทนสีน้ำตาล มีการนำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยมีวิธีการสร้างดังนี้ เปิดไฟล์ภาพที่ต้องการ ปรับแต่งขนาดตามต้องการ เลือกเมนูคำสั่ง Image> Adust> Hue/Saturation คลิกที่รายการ Colorize ปรับค่าสีตามต้องการ

47. ภาพแบบ Sepia (2 จาก 2) B A จากวิธีการข้างต้นจะได้ภาพแบบ Sepia (B)

48. Filter (1 จาก 2) Filter เป็นคำสั่งในการตกแต่งภาพโดยอาศัยลักษณะ พิเศษลักษณะต่างๆ ที่โปรแกรมเตรียมไว้ รวมทั้ง คำสั่งพิเศษจากโปรแกรมเสริมที่สามารถนำเข้ามา ใช้งานได้ ที่เรียกว่า Plug-In เช่น Eye Candy หรือ Kai Power Tool เป็นต้น การใช้ Filter สามารถใช้ได้หลายลักษณะ และ Filter จะทำงานกับ Selection หรือ Layer ที่ Active เสมอ

48. Filter (2 จาก 2) ภาพต้นแบบ Filter> Artistic> Dry Brush Filter> Artistic> Plastic Wrap Filter> Artistic> Radial Blur

48. Filter (2 จาก 2) ภาพต้นแบบ Filter> Artistic> Dry Brush Filter> Artistic> Plastic Wrap Filter> Artistic> Radial Blur