เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เศรษฐกิจ พอเพียง.
เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
หน่วยเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
Thailand fruit paradise
โครงงาน โรงเรียนฝางวิทยายน ผู้จัดทำ 1.นายสุทิน สีละโคตร เลขที่11
เศรษฐกิจพอเพียง.
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ตลาดและการแข่งขัน.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดทำโดย ด.ช.วริศ วิโรจนวัธน์
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
ของฝากจากอาจารย์อ้อชุดที่28
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
เกษตรทฤษฎีใหม่.
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
การเลือกซื้อสินค้า.
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
สภาพแวดล้อมของช่องทางการตลาด
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
Home Builder Industrial. จุดเด่นของธุรกิจรับ สร้างบ้าน ธุรกิจที่ไม่ได้อาศัยเงินลงทุนสูง เข้ามาดำเนินธุรกิจง่าย ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค แบบบ้านที่สามารถ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ในชีวิตประจำวันของเรา มีความต้องการบริโภคสินค้าและบริการต่างๆ มากมาย เช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟัน จาน ช้อน แก้วน้ำ อาหาร เป็นต้น สินค้าเหล่านี้บางครั้งเราไม่สามารถผลิตขึ้นมาได้ จึงมีผู้ผลิตสินค้าต่างๆ ขึ้นมาขาย การเรียนรู้เกี่ยวกับการบริโภคและการผลิต เรียกว่า เศรษฐศาสตร์ ดังนั้นเศรษฐศาสตร์จึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน

1. แรงจูงใจในการตัดสินใจใช้ทรัพยากร ด้านปัจจัย 4 คนต้องการปัจจัย 4 เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ จึงมีการนำเอาทรัพยากรมาผลิตเป็นปัจจัย 4 เพื่อสนองความต้องการของคน ด้านประเพณี เรามีวัฒนธรรมที่สืบทอดต่อๆกันมา เช่น ประเพณีลอยกระทง ด้านความสะดวกสบาย ด้านการโฆษณาชวนเชื่อ เป็นการกระตุ้นความต้องการสินค้าต่างๆของคนเรา

2. ปัจจัยการผลิต การที่เราจะผลิตสอนค้าต่างๆได้ ต้องมีปัจจัยในการผลิต ได้แก่ ที่ดิน ทุน แรงงาน และการประกอบการ 1. ที่ดิน 2. ทุน 3. แรงงาน 4. การประกอบการ

3. เทคโนโลยีในการผลิตและบริการ เทคโนโลยี หมายถึง วิธีการใหม่ๆ ที่นำมาใช้ในการทำงานต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตสินค้าให้มากขึ้นหรือแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับด้านการผลิตและบริการ การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตและบริการ จะช่วยให้มีการพัฒนาคุณภาพสินค้าให้ดีขึ้น

4. การแข่งขันในการผลิตและการตลาด การแข่งขันในการผลิต หมายถึง การพยายามทำให้ต้นทุนผลิตสินค้ามีราคาต่ำลง การตลาด หมายถึง สถานที่รวบรวมสินค้าและบริการต่างๆ

5. การบริโภค การบริโภค หมายถึง การใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการ เพื่อเสนอความต้องการของตนเอง สินค้าที่เราบริโภคนั้นมี 2 ประเภท - ประเภทคงทนถาวร - ไม่คงทน หลักเกณฑ์ในการบริโภคสินค้าและบริการต่างๆ - ความจำเป็น - การเปรียบเทียบราคา - คุณภาพของสินค้า

เศรษฐกิจพอเพียง

แนวปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียง ( ทฤษฏีใหม่ ) ขั้นตอนที่ 1 ระยะเริ่มต้นให้แบ่งดินออกเป็น 4 ส่วน ส่วนที่ 1 พื้นที่ 30% เป็นขุดเป็นสระน้ำ ส่วนที่ 2 พื้นที่ 30% เป็นปลูกข้าวกินในครอบครัว ส่วนที่ 3 พื้นที่ 30% เป็นการปลูกผัก ผลไม้ ส่วนที่ 4 พื้นที่ 10% เป็นปลูกบ้านและเลี้ยงสัตว์