การประเมินผลโครงการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
ตัวชี้วัดที่ 7 สารพิษตกค้างในอาหาร จังหวัดยโสธร ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
สาขาทารกแรกเกิดและสูติกรรม
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
สถานการณ์การเงินการคลัง
สัดส่วนงบประมาณ (ประจำ, ลงทุน, เหลื่อมปี) คงเหลือ : เบิกจ่าย กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 31 มีนาคม 2553 งบประจำทั้งกระทรวง 49.31% สพฉ % สวรส %
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
พ.ศ ลำดับการดำเนินงานในจังหวัดขอนแก่น คณะทำงานชี้แจงในที่ประชุม
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การประเมินผลผลลัพธ์การดำเนินงาน ที่สำคัญ ( พ. ศ. ๒๕๕๓ ) ๑. ความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพ การให้บริการของหน่วยงานระดับ Front Office ( ๓. ๑. ๑. ๑ ) ๒. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการ.
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
ผลสรุปการประเมิน รวม 12 จังหวัด 36 อำเภอ 108 หน่วยบริการ จังหวัดที่ประเมิน จังหวัดสุพรรณ ระนอง อุตรดิตถ์ บึงกาฬ ชัยภูมิ เชียงใหม่ ชลบุรี ปัตตานี, อำนาจเจริญ,
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผลโครงการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการ ระบบดูแลผู้ตั้งครรภ์แนวใหม่ ตามข้อแนะนำองค์การอนามัยโลก เสนอโดย ศาสตราจารย์ แพทย์หญิง ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ความเป็นมา กรมอนามัย ได้ร่วมมือกับ 5 จังหวัด ได้แก่ นครศรีธรรมราช ลพบุรี มหาสารคาม กาฬสินธุ์ และเชียงราย ดำเนินโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการระบบดูแล ผู้ตั้งครรภ์แนวใหม่ ตามข้อแนะนำองค์การอนามัยโลก โดยได้เริ่มปฏิบัติการระบบดูแลผู้ตั้งครรภ์แนวใหม่ ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2551 เป็นต้นมา หลังจากผู้เกี่ยวข้อง ในการให้บริการคลินิก ANC ได้รับการชี้แจงรายละเอียดจาก วิทยากรที่ปรึกษาของโครงการในช่วงเดือนมิถุนายนถึง เดือนกรกฎาคม 2551 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ระบบดูแลผู้ตั้งครรภ์แนวใหม่ มีหลักการที่สำคัญคือ หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกทุกคน จะได้รับการประเมินความเสี่ยงของการตั้งครรภ์ 18 ข้อ ตามแบบ Classifying form เพื่อจัดกลุ่มภาวะเสี่ยง หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีความเสี่ยงข้อใดข้อหนึ่ง จัดเป็นผู้ตั้งครรภ์ประเภท Low risk pregnancy หากมีความเสี่ยงแม้แต่ข้อใดข้อหนึ่ง จะจัดเป็นผู้ตั้งครรภ์ประเภท High risk pregnancy ผู้ตั้งครรภ์ประเภท Low risk pregnancy สามารถนัดหมายดูแลครรภ์อย่างน้อย 5 ครั้งได้ ตามช่วงอายุครรภ์ที่เหมาะสม ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ผู้ตั้งครรภ์ ทุกคนที่มา ฝากครรภ์ ประเมินสถานภาพ โดยใช้ Classify-ing form ให้การดูแลพิเศษประเมินเพิ่มเติมหรือตรวจติดตามพิเศษ มีสถาน ภาพ พิเศษหรือไม่ มี ไม่มี ใช้ Basic component of ANC programme ศิริกุล อิศรานุรักษ์

วัตถุประสงค์การประเมินโครงการ ประเมินประสิทธิผลระบบดูแลผู้ตั้งครรภ์แนวใหม่ฯ ตามตัวชี้วัด Outcome และ Output ที่ระบุไว้ในโครงการ ประเมินความเป็นไปได้ของการดำเนินงาน โดยประเมิน ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ศิริกุล อิศรานุรักษ์

กรอบแนวคิดการประเมินโครงการ PROCESS OUTPUT OUTCOME บริการดูแลครรภ์แนวใหม่ - Classifying form - Checklist ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข จำนวนครั้งเฉลี่ยที่มาฝากครรภ์จนคลอด ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความพึงพอใจของผู้ให้บริการ ความครบถ้วนของบริการดูแล ครรภ์ที่ได้รับ Low birth weight Birth asphyxia Perinatal mortality Maternal anemia Maternal mortality จำนวนเรื่องร้องเรียน

รูปแบบการประเมินโครงการ การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและความครบถ้วน ของบริการฝากครรภ์ที่พึงได้รับตามช่วงอายุครรภ์ โดยใช้แบบสอบถาม การสนทนากลุ่มกับผู้ปฏิบัติงานคลินิกฝากครรภ์ ในวันที่เก็บข้อมูลทุกคน การสัมภาษณ์เชิงลึกกับหัวหน้าคลินิกฝากครรภ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับผลลัพธ์การตั้งครรภ์ ใน 5 จังหวัดนำร่อง จากข้อมูลที่จัดเก็บ ในระบบปกติของจังหวัด ศิริกุล อิศรานุรักษ์

พื้นที่ศึกษา และช่วงเวลาเก็บข้อมูล พื้นที่ศึกษา ทั้งหมด 34 แห่ง โรงพยาบาลศูนย์ 2 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป 4 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 150 เตียง 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 120 เตียง 2 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 90 เตียง 9 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 60 เตียง 3 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง 12 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 10 เตียง 1 แห่ง เก็บข้อมูล เดือนกันยายนถึงตุลาคม 2552 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

เครื่องมือในการเก็บข้อมูล แบบสอบถามความพึงพอใจผู้รับบริการ และความครบถ้วนของ กิจกรรมที่ให้บริการ แนวคำถามผู้ให้บริการเกี่ยวกับความพึงพอใจ ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข และเทปอัดเสียง บันทึกคลอด/ทะเบียนคลอด/รายงานการปฏิบัติงาน ANC ของ โรงพยาบาล เกี่ยวกับจำนวนครั้งของการฝากครรภ์ ระดับฮีโมโกลบิน ของผู้ตั้งครรภ์ น้ำหนักแรกคลอด และภาวะขาดออกซิเจน แบบรายงาน ก-2 สรุปรายงานการคลอด และการป่วย/การตาย ของมารดา และทารกปริกำเนิด ทะเบียนเรื่องร้องเรียนของโรงพยาบาล ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ผลการศึกษา ผลลัพธ์ ลพบุรี เชียง ราย มหาสาร คาม กาฬ สินธุ์ นครศรี ธรรมราช 1 อัตราทารกน้ำหนักแรกเกิดน้อย (ร้อยละ) 2548 8.3 10.6 6.6 8.8 8.7 2549 14.1 20.1 6.9 7.8 2550 9.2 9.5 8.1 7.9 2551 8.2 2552 8.5 P-value* 0.544 0.083 0.543 0.767 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

2 อัตราการขาดออกซิเจนที่ 1 นาทีในทารกแรกเกิด (ต่อพันการเกิดมีชีพ) ลพ บุรี เชียง ราย มหาสาร คาม กาฬ สินธุ์ นครศรี ธรรมราช 2548 20.8 37.4 17.6 29.5 42.4 2549 16.5 37.5 18.0 27.4 39.1 2550 21.0 34.7 24.4 24.1 32.4 2551 15.3 24.7 23.3 29.1 2552 15.1 31.8 31.3 19.5 27.7 P-value* 0.083 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

3 อัตราการขาดออกซิเจนที่ 5 นาทีในทารกแรกเกิด (ต่อพันการเกิดมีชีพ) ลพ บุรี เชียง ราย มหาสาร คาม กาฬ สินธุ์ นครศรี ธรรมราช 2548 6.6 14.1 3.5 7.8 2549 14.3 4.6 6.8 10.2 2550 2.5 15.1 7.3 8.5 10.0 2551 6.3 8.6 6.2 7.5 8.4 2552 3.9 12.5 5.9 P-value* 0.564 0.083 0.248 0.121 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

4 อัตราทารกตายปริกำเนิด (ต่อพันการเกิดมีชีพ) ลพ บุรี เชียง ราย มหาสาร คาม กาฬ สินธุ์ นครศรี ธรรมราช 2548 8.3 7.7 7.0 9.3 8.6 2549 7.1 6.9 7.2 7.3 9.2 2550 6.4 7.5 5.4 9.8 6.5 2551 7.8 4.9 4.5 6.2 2552 8.0 6.0 P-value* 0.564 0.083 0.076 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

1 อัตราส่วนมารดาตาย (ต่อแสนการเกิดมีชีพ) ลพ บุรี เชียง ราย มหาสาร คาม กาฬ สินธุ์ นครศรี ธรรมราช 2548 14.4 18.2 12.5 34.0 11.2 2549 15.4 9.4 10.9 11.0 2550 16.8 63.4 39.0 2551 25.7 22.0 21.7 2552 38.8 22.4 16.2 P-value* - 0. 564 0.564 0.121 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

2 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก ลพ บุรี เชียง ราย มหาสาร คาม กาฬ สินธุ์ นครศรี ธรรมราช 2548 15.2 8.9 11.5 12.7 9.2 2549 14.3 10.6 12.5 17.2 12.3 2550 18.8 9.1 10.4 13.9 13.4 2551 18.7 9.0 8.3 14.4 13.8 2552 21.5 9.9 P-value* 0.248 1.0 0.767 0.554 0.083 3 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางเมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์** 14.0 6.4 3.2 3.9 15.5 15.6 8.6 11.7 18.3

เรื่องร้องเรียน ลพบุรี เชียงราย มหาสาร คาม กาฬ สินธุ์ นครศรี ธรรมราช 1 เรื่องร้องเรียน การคลอด 2548 ไม่มีข้อมูล 5 1 2 2549 3 2550 2551 6 2552 4 2 เรื่องร้องเรียน การตั้งครรภ์ 1 (SB) 2* 2 (SB) 1 (SB)#

ความครบถ้วนของบริการที่ได้รับ รพท/รพศ. รพช. ขนาดใหญ่ รพช. ขนาดเล็ก รวม ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 การซักประวัติ 30 41 64 63 81 76 175 180 ได้รับครบถ้วน 43.3 61.0 59.4 54.0 43.2 69.7 49.1 62.2 ได้รับแต่ไม่ครบถ้วน 53.4 34.2 29.7 41.2 48.2 27.7 42.3 33.9 ไม่ได้รับ 3.3 4.8 10.9 8.6 2.6 3.9 P-value 0.070 0.730 <.001 0.007 การตรวจร่างกาย 61 80 75 173 177 6.7 15.0 7.9 16.4 20.0 25.3 13.3 19.9 93.3 85.0 92.1 83.6 80.0 74.7 86.7 80.1 0.139 0.074 0.215 0.050 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

การตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ 30 41 64 63 81 76 175 180 ได้รับครบถ้วน 83.3 บริการที่ได้รับ รพท/รพศ. รพช. ขนาดใหญ่ รพช. ขนาดเล็ก รวม ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 การตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ 30 41 64 63 81 76 175 180 ได้รับครบถ้วน 83.3 100 89.1 98.4 92.6 93.4 89.7 97.7 ได้รับแต่ไม่ครบถ้วน 16.7 10.9 1.6 7.4 6.6 10.3 2.3 P-value 0.004 0.016 0.423 0.001 การจัดให้มีการดูแลรักษา 62 75 174 178 66.7 95.1 49.2 87.1 71.6 90.7 62.6 90.4 33.3 4.9 50.8 12.9 28.4 9.3 37.4 9.6 <.001 0.002 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

บริการทุกอย่าง 30 40 62 60 80 74 172 180 ได้รับครบถ้วน 3.3 12.5 3.2 บริการที่ได้รับ รพท/รพศ. รพช. ขนาดใหญ่ รพช. ขนาดเล็ก รวม ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 บริการทุกอย่าง 30 40 62 60 80 74 172 180 ได้รับครบถ้วน 3.3 12.5 3.2 13.3 7.5 21.6 5.2 16.7 ได้รับแต่ไม่ครบถ้วน 96.7 87.5 96.8 86.7 92.5 78.4 94.8 83.3 P-value of Z test for proportions 0.087 0.021 0.007 <.001 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ รพท/รพศ. รพช. ขนาดใหญ่ รพช. ขนาดเล็ก รวม ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 จำนวน 30 41 64 62 81 76 175 179 พอใจมาก 70.0 63.4 67.2 71.0 64.2 55.3 66.3 62.6 พอใจปานกลาง 26.7 36.6 28.1 29.0 33.3 43.4 30.3 36.9 พอใจน้อย 3.3 0.0 4.7 2.5 1.3 3.4 0.6 P-value of Z test for proportions 0. 719 0.323 0.872 0.766 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการ ลำดับที่ ประเด็น จำนวน 1. ระบบการให้บริการ จัดระเบียบตามบัตรคิว หรือจัดลำดับการให้บริการ ลดขั้นตอนและระยะเวลาในการรอรับบริการ เพื่อให้บริการได้รวดเร็วขึ้น 46 10 29 2. ผู้ให้บริการ เพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการหรือแพทย์ให้มากกว่านี้ ตรวจร่างกายผู้รับบริการให้ละเอียดขึ้น การพูดจาให้ไพเราะขึ้น การดูแลเอาใจใส่ และสนใจคนไข้มากขึ้น การให้ความรู้ คำแนะนำ อธิบายให้ชัดเจนมากขึ้น 58 7 15 9 17 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ยา ลำดับที่ ประเด็น จำนวน 3. เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ยา เพิ่มเครื่องมือ หรือวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัย เช่น เครื่องอัลตร้าซาวด์ เครื่องตรวจปัสสาวะ เป็นต้น 2 4. สื่อ เอกสาร ให้มีสื่อเอกสารความรู้ต่างๆ เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ และโบรชัวร์ ให้ผู้รับบริการอ่านระหว่างรอ และนำกลับบ้าน 14 12 5. สถานที่ให้บริการ ขยายสถานที่ และห้องฝากครรภ์ให้กว้างขวาง มิดชิด และเป็นสัดส่วนขึ้น 17 9 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ทัศนคติของหัวหน้าคลินิก ANC และผู้ปฏิบัติงาน การประเมินผลครั้งที่ 1 การประเมินผลครั้งที่ 2 จำนวน ร้อยละ หัวหน้าคลินิก ANC 35 100.0 34 ทัศนคติเห็นด้วย 19 54.3 32 94.1 ทัศนคติไม่แน่ใจ 13 37.1 2 5.9 ทัศนคติไม่เห็นด้วย 3 8.6 P-value of the Chi-square test <0.001 ผู้ปฏิบัติงานคลินิก ANC 14 40.0 5.7 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

กลุ่มที่มีทัศนคติเดิมเห็นด้วย และยังคงเห็นด้วย กลุ่มที่มีทัศนคติเดิมเห็นด้วย และยังคงเห็นด้วย พบในโรงพยาบาล จำนวน 19 แห่ง เป็น รพศ./รพท. จำนวน 1 แห่ง รพช. ขนาดใหญ่ จำนวน 9 แห่ง และ รพช. ขนาดเล็ก จำนวน 9 แห่ง มีเหตุผลดังนี้ สามารถให้การดูแลผู้รับบริการได้ครอบคลุม ละเอียด และมีคุณภาพมากขึ้น ลดภาระงานในแต่ละวันลง ผู้รับบริการได้รับการดูแลได้อย่างครอบคลุม และได้รับความรู้ความเข้าใจ มีเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ครบถ้วน ผู้บริหารให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ การประสานงานระหว่างทีม ANC กับทีมงานอื่นๆ ในโรงพยาบาลค่อนข้างดี ได้พัฒนาตัวเอง ได้เรียนรู้นวัตกรรม และความรู้ใหม่ๆ ศิริกุล อิศรานุรักษ์

กลุ่มที่มีทัศนคติเดิมไม่แน่ใจ เปลี่ยนมาเป็นเห็นด้วย กลุ่มที่มีทัศนคติเดิมไม่แน่ใจ เปลี่ยนมาเป็นเห็นด้วย พบในโรงพยาบาล จำนวน 12 แห่ง เป็น รพศ./รพท. จำนวน 4 แห่ง รพช. ขนาดใหญ่ จำนวน 2 แห่ง และรพช. ขนาดเล็ก จำนวน 6 แห่ง ให้เหตุผลดังนี้ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีความมั่นใจ เข้าใจในการทำงาน และระบบบริการมากขึ้น ดูแลผู้รับบริการอย่างเป็นระบบมากขึ้น และเป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ ช่วยลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลดจำนวนครั้งของการมารับบริการของผู้รับบริการ ผู้รับบริการมีความสนใจ และเอาใจใส่ในการดูแลตนเองได้มากขึ้น โรงพยาบาลมีความพร้อมในเรื่องเครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ผู้บริหารให้การสนับสนุนเต็มที่ ศิริกุล อิศรานุรักษ์

กลุ่มที่มีทัศนคติเดิมไม่เห็นด้วย เปลี่ยนมาเป็นเห็นด้วย กลุ่มที่มีทัศนคติเดิมไม่เห็นด้วย เปลี่ยนมาเป็นเห็นด้วย พบใน รพช. ขนาดเล็ก จำนวน 1 แห่ง มีเหตุผลดังนี้ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานได้พัฒนาตัวเอง ผู้รับบริการได้รับความรู้ ในการดูแลตัวเองได้ ผู้รับบริการได้รับการบริการที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ผู้บริหารของโรงพยาบาลให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ในทุกเรื่อง ศิริกุล อิศรานุรักษ์

กลุ่มที่มีทัศนคติเดิมไม่แน่ใจ และยังคงไม่แน่ใจ กลุ่มที่มีทัศนคติเดิมไม่แน่ใจ และยังคงไม่แน่ใจ พบใน รพช. ขนาดเล็ก จำนวน 1 แห่ง เนื่องจากเหตุผลดังนี้ ผู้รับบริการยังไม่ค่อยมั่นใจในระบบบริการ ANC แนวใหม่เท่าที่ควร อัตรากำลังบุคลากรค่อนข้างจำกัด ผู้บริหารยังไม่ได้ให้การสนับสนุน ศิริกุล อิศรานุรักษ์

กลุ่มที่มีทัศนคติเดิมไม่เห็นด้วย เปลี่ยนมาเป็นไม่แน่ใจ พบใน รพศ./รพท. จำนวน 1 แห่ง เนื่องจากเหตุผลดังนี้ ทัศนคติในการทำงานที่ไม่ตรงกันของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ยังมีความวิตกกังวลเรื่องความสามารถเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ยังไม่สามารถดำเนินการตรวจภายในได้ตามขั้นตอนหรือ กระบวนการให้บริการ ปัญหาความสามารถของเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยเรื่องการ ตรวจภายใน ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน ปัญหาด้านผู้ให้บริการ ขาดความมั่นใจในการตรวจภายใน ความสับสน หรือไม่เข้าใจในระบบบริการ ANC แนวใหม่ อัตรากำลังไม่เพียงพอ ขาดแคลนบุคลากรและแพทย์ ทัศนคติของแพทย์เกี่ยวกับการให้บริการ ความไม่เข้าใจในแบบฟอร์มประเมินความเสี่ยง ความร่วมมือระหว่างทีมงาน ภาระงานเพิ่มขึ้น ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ปัญหาด้านผู้รับบริการ ความวิตกกังวลของผู้รับบริการ และไม่ต้องการตรวจภายใน ความหลากหลายของเชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรม ความคับคั่งของผู้รับบริการ ผู้รับบริการเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น ผู้รับบริการไม่มารับบริการ ผู้รับบริการรอคอยนาน ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ปัญหาด้านระบบบริหารจัดการ งบประมาณ เอกสาร การสนับสนุน ยังไม่ได้ดำเนินการตรวจภายใน การนัดตามช่วงอายุของ ANC แนวใหม่ไม่เป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐาน 4 ครั้งคุณภาพของกรมอนามัย การพัฒนาทีมงานให้บริการ ANC แนวใหม่ ยังไม่ชัดเจน ปัญหาเกี่ยวกับระบบการลงข้อมูล ไม่มีแบบฟอร์มสำหรับการบันทึกข้อมูลผู้รับบริการที่เป็น มาตรฐานเดียวกัน ขาดที่ปรึกษา ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ปัญหาด้านเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ได้รับการสนับสนุนหรือขาดแคลนเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ และสื่อต่างๆ ภาระค่าใช้จ่ายด้านเครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่เพิ่มขึ้น ปัญหาด้านสถานที่ สถานที่ให้บริการคับแคบ และไม่สามารถขยับยายได้ ห้องตรวจครรภ์อากาศค่อนข้างร้อน อบอ้าว ห้องตรวจครรภ์และห้องตรวจภายในยังไม่เป็นสัดส่วน ค่อนข้างคับแคบ ขาดสถานที่สำหรับการจัดโรงเรียนพ่อแม่โดยตรง ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ข้อเสนอแนะในการขยายผล ด้านผู้ให้บริการ ชี้แจงรายละเอียดทำความเข้าใจระบบ ANC แนวใหม่ แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทั้งในโรงพยาบาลและสถานีอนามัย จนเกิดทัศนคติเชิงบวกและมีความเชื่อมั่นในการให้บริการ สนับสนุนอัตรากำลังให้เพียงพอกับจำนวนผู้รับบริการ และภาระงาน ด้านผู้รับบริการ ประชาสัมพันธ์ ชี้แจงและสื่อสารทำความเข้าใจกับผู้รับบริการ เพื่อสร้างความเข้าใจและการยอมรับ ส่งเสริมให้ผู้ตั้งครรภ์มีส่วนร่วมในการตรวจสอบบริการที่ตนเองพึงได้รับ ตาม Checklist และ Classifying form โดยการจัดทำแบบฟอร์มที่ ผู้รับบริการเข้าใจได้ เป็นการส่งเสริมให้เอาใจใส่ดูแลตนเองมากขึ้น ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ด้านระบบบริหารจัดการ ขยายผลตามความสมัครใจ และความพร้อมของจังหวัด จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการทำงานอย่าง สม่ำเสมอ และควรมีการติดตามหรือนิเทศงานอย่างต่อเนื่อง พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้เอื้อต่อการใช้ประโยชน์หลายประสงค์ ลดความซ้ำซ้อนในการลงข้อมูล เตรียมความพร้อมสถานีอนามัย มีระบบดูแลและสนับสนุนภาคีเครือข่ายการทำงานให้เชื่อมโยง และส่งต่อการบริการที่เป็นระบบ ศิริกุล อิศรานุรักษ์

ด้านเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ สนับสนุนเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต่างๆ และสื่อ เอกสารความรู้สำหรับให้สุขศึกษาแก่พ่อแม่ ให้ครบถ้วน ก่อนเริ่มดำเนินงาน จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน ANC แนวใหม่อย่างชัดเจนและครอบคลุม ทุกด้าน สามารถใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ปฏิบัติงานระดับ สถานีอนามัยด้วย บูรณาการแบบฟอร์มต่างๆเตามมาตรฐาน ANC แนวใหม่ลงใน สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก ศิริกุล อิศรานุรักษ์

สถานที่ให้บริการควรเป็นสัดส่วน โดยไม่ปะปนกับคลินิกผู้ป่วยทั่วไป ด้านสถานที่ สถานที่ให้บริการควรเป็นสัดส่วน โดยไม่ปะปนกับคลินิกผู้ป่วยทั่วไป และเป็นบริการรวมจุดเดียว ข้อเสนอแนะอื่นๆ สอนระบบ ANC แนวใหม่ในหลักสูตรการเรียนการสอนของพยาบาลและแพทย์ เพื่อให้มีความรู้พื้นฐานก่อนออกทำงาน ศิริกุล อิศรานุรักษ์

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ขอขอบคุณ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ผู้อำนวยการโรงพยาบาล และผู้เกี่ยวข้อง ในงานฝากครรภ์ทุกคน ใน 5 จังหวัดนำร่อง ขอขอบคุณผู้ตั้งครรภ์ทุกคน

ทีมวิจัย ศิริกุล อิศรานุรักษ์ จิราพร ชมพิกุล ปราณี สุทธิสุคนธ์ เกรียงศักดิ์ ซื่อเลื่อม ปรินดา ตาสี เริงวิชญ์ นิลโคตร สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล