น.ส. อาภรณ์ ไชยสุวรรณ น.ส.บุญเพ็ญ ชูทอง น.ส.จริยา รัตนพันธุ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ปีนี้ สทศ.ออกข้อสอบอะไร อย่างไร
สำนักควบคุมและตรวจสอบอาคาร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
ขั้นตอนการดำเนินงาน ฐานข้อมูล TCI
Graduate School Khon Kaen University
ผอ. สำนัก สถาปัตยกรรม (1/2) กลุ่มงาน สถาปัตยกรรม ข้าราชการ พนักงาน ราชการ 11 ลูกจ้างประ จำ -- กลุ่มงานงานตรวจสอบงาน สถาปัตยกรรมและงานกำหนด มาตรฐาน.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
นางสาววราภรณ์ สุภเกษมวงศ์
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
โครงการลดความล่าช้าของเอกสารขาย
ฝ่ายนโยบายและแผน งานงบประมาณ ฝ่ายการคลัง ภาควิชา หน่วยงาน
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
Management Information Systems
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
นางเอื้อมพร วงศ์สวัสดิ์ กุล ผู้อำนวยการกองแผนงาน.
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
การแจกแจงปกติ.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
ผู้อำนวยการกองแผนงาน
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
การดำเนินงานในห้องสมุดเฉพาะ
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช

นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การดำเนินงานในห้องสมุดเฉพาะ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

น.ส. อาภรณ์ ไชยสุวรรณ น.ส.บุญเพ็ญ ชูทอง น.ส.จริยา รัตนพันธุ์ ความคุ้มทุนของทรัพยากรสารสนเทศที่จัดหาของ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ น.ส. อาภรณ์ ไชยสุวรรณ น.ส.บุญเพ็ญ ชูทอง น.ส.จริยา รัตนพันธุ์

วัตถุประสงค์ 1. วิเคราะห์งบประมาณการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศกับอัตราการใช้ 2. วิเคราะห์ความคุ้มทุนของการลงทุนในทรัพยากรสารสนเทศ

ขั้นตอนและวิธีการศึกษา 1. ประชากรที่ศึกษา คือ หนังสือฉบับพิมพ์ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จัดหา โดยประชากร คือหนังสือที่สามารถยืมออกได้เท่านั้น และวารสารฉบับพิมพ์ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่บอกรับ/ต่ออายุ จำนวน 335 รายการ 3,423 เล่ม ปีงบประมาณ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ รวม 2553 3,633 1,786 5,419 2554 3,268 2,393 8,661 2555 3,191 1,617 4,808 10,092 5,796 15,888

ขั้นตอนและวิธีการศึกษา 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา สำหรับหนังสือ ได้แก่ ลำดับที่ / ชื่อเรื่อง / ชื่อผู้แต่ง / ปีที่พิมพ์ / จำนวนเล่ม / ISBN / บาร์โค้ด / ราคาต่อเล่ม / สาขาวิชาที่เสนอ / จำนวนครั้งในการยืม ดังภาพตัวอย่าง

ขั้นตอนและวิธีการศึกษา 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา สำหรับวารสาร ประกอบด้วย ลำดับที่ / ชื่อวารสาร / ISSN / ปีที่ / ฉบับที่ / วัน เดือน ปี / ปีที่พิมพ์ / บาร์โค้ด / จำนวนเล่ม / ราคา / สาขาวิชาที่เสนอแนะ / จำนวนครั้งในการยืม

การเก็บรวบรวมข้อมูลหนังสือ รวบรวมข้อมูลหนังสือที่จัดซื้อในช่วงปีงบประมาณ 2553-2555 เลือกเฉพาะรายการที่อนุญาตให้ยืมเท่านั้น ดึงข้อมูลสถิติการยืมจากฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติ Walai Autolib ข้อมูลของราคาหนังสือ ใช้ราคาสุทธิแล้ว ข้อมูลของผู้เสนอซื้อ แยกตามสาขาวิชาของผู้เสนอซื้อ ซึ่งข้อมูลวิเคราะห์สามารถแยกตามสำนักวิชาได้

การเก็บรวบรวมข้อมูลวารสาร รวบรวมข้อมูลจากรายการวารสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศฉบับที่มีการบอกรับและต่ออายุวารสารในช่วงปีงบประมาณ 2553-2555 รวบรวมจากฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติ Walai Autolib โมดูล Circulation เพื่อดึงข้อมูลสถิติการยืม เก็บสถิติการใช้วารสารฉบับปัจจุบันและฉบับย้อนหลังจากการนำตัวเล่มลงมาจากชั้นจัดเก็บ โดยเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ

การเก็บรวบรวมข้อมูล ตัวอย่างข้อมูลสถิติการยืม สถิติการยืม

การวิเคราะห์ข้อมูล เกณฑ์วิเคราะห์ความคุ้มทุน วิเคราะห์จากสูตร งบประมาณในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ สถิติการใช้ การประเมินความคุ้มทุน ผู้ดำเนินการได้คิดราคาเทียบกับปริมาณการใช้ประโยชน์ ตัวอย่างเช่น หนังสือราคา 300 บาท หากมีการใช้ 1 ครั้ง ความคุ้มทุน 300 บาท หากมีการใช้ 2 ครั้ง ความคุ้มทุน 150 บาท หากมีการใช้ 5 ครั้ง ความคุ้มทุน 60 บาท หากมีการใช้ 300 ครั้ง ความคุ้มทุน 1 บาท หากไม่มีการใช้ประโยชน์เลย ถือว่า ไม่มีความคุ้มทุนเลย

สถิติที่ใช้ สถิติที่ใช้ในการวัดค่าความคุ้มทุน โดยใช้ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย และสูตรการวิเคราะห์ค่าความคุ้มทุน

รายจ่ายตามงบประมาณที่จ่ายจริง จำนวนหนังสือที่จัดซื้อ ค่าร้อยละ ปีงบประมาณ รายจ่ายตามงบประมาณที่จ่ายจริง สัดส่วนงบประมาณ จำนวนหนังสือที่จัดซื้อ 2553 4,930,263.50 5,419 2554 5,189,627.10 5,661 2555 3,946,618.82 4,808 รวม 14,066,509.42 15,888 เพิ่มขึ้นร้อยละ 95 จากปี 2553 ลดลงร้อยละ 131.50 จากปี 2554

ค่าเฉลี่ย ปีงบประมาณ รายจ่ายตามงบประมาณที่จ่ายจริง จำนวนหนังสือที่จัดซื้อ จำนวนการใช้ อัตราเฉลี่ยการใช้ต่อครั้ง 2553 4,930,263.5 5,419 34,227 6.32 2554 5,189,627.1 5,661 24,119 4.26 2555 3,946,618.82 4,808 15,496 3.22 รวม 14,066,509.42 15,888 73,842 4.65

รายจ่ายตามงบประมาณที่จ่ายจริง ค่าเฉลี่ย สำนักวิชา ปีงบประมาณ 2553-2555 รายจ่ายตามงบประมาณที่จ่ายจริง จำนวนหนังสือ จำนวน การใช้ อัตราเฉลี่ย ในการใช้ ศิลปศาสตร์ 905,002.77 1,207 1,870 1.55 วิทยาศาสตร์ 289,844.05 146 605 4.14 การจัดการ 486,068.47 373 549 1.47 สารสนเทศศาสตร์ 634,464.65 476 530 1.11 เทคโนโลยีการเกษตร 339,221.35 84 163 2.18 วิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร 429,996.60 134 123 0.92 สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ 1,545,593.40 978 2,736 2.80 พยาบาลศาสตร์ 317,152.00 161 293 1.82 สหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ 851,538.15 657 2,047 3.11 เภสัชศาสตร์ 2,470,235.10 982 1,637 1.67 แพทยศาสตร์ 1,806,727.10 1,425 4,331 10.19

ผลการวิเคราะห์ค่าความคุ้มทุนของหนังสือ ปีงบประมาณ รายจ่ายตามงบประมาณที่จ่ายจริง จำนวนหนังสือที่จัดซื้อ อัตราการใช้ ความคุ้มทุน 2553 4,930,263.50 5,419 34,227 144.47 2554 5,189,627.10 5,661 24,119 215.17 2555 3,946,618.82 4,808 15,496 254.69 รวม 14,066,509.42 15,888 73,842 190.49

ข้อมูลการบอกรับ/ต่ออายุวารสาร ปีงบประมาณ รายจ่ายตามงบประมาณที่จ่ายจริง จำนวนชื่อเรื่องวารสารที่บอกรับ/ต่ออายุ จำนวนเล่มวารสารที่บอกรับ/ต่ออายุ 2553 99,863 118 1,174 2554 91,615 111 1,149 2555 87,550 106 1,100 รวม 279,028 335 3,423

ผลการวิเคราะห์ค่าความคุ้มทุนของวารสาร ปีงบประมาณ รายจ่ายตามงบประมาณที่จ่ายจริง จำนวนเล่มวารสารที่บอกรับ/ต่ออายุ จำนวนการใช้ อัตราเฉลี่ยในการใช้ ความคุ้มทุน 2553 99,863 1,174 2,880 2.45 34.67 2554 91,615 1,149 2,370 2.06 38.66 2555 87,550 1,100 1,810 1.64 48.37 รวม 279,028 3,423 7,060 39.52

ขอบคุณค่ะ