สมพงษ์ เจริญศิริ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(Reference Services Database for Academic Resources Center
Advertisements

รุ่งเรือง สิทธิจันทร์ ประธานคณะทำงานฯ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ตัวชี้วัดโครงการ บรรณารักษ์พบนักวิจัย
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เกดิษฐ เกิดโภคา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดใน
Live and Learn Library Tour เรียนรู้สู่การปฏิบัติจริง
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
งานข้อมูลท้องถิ่น สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
Single Search คืออะไร ? เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่ สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอนในการเข้าถึงสารสนเทศฉบับเต็ม ผู้รับบริการสืบค้นข้อมูลครั้งเดียว แต่ได้รับสารสนเทศที่ต้องการจากหลายๆ.
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
แนวทางการพัฒนางาน บริการชุมชนและส่งเสริมการใช้บริการ
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
ศูนย์สารนิเทศอีสานสิรินธร
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเนชั่น จังหวัดลำปาง
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การติดตามผลการปฏิบัติงาน การทบทวนและปรับแผนยุทธศาสตร์ การตรวจสอบและประเมินผล ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 20 มิถุนายน 2554.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เครือข่ายการให้บริการห้องสมุด และแหล่งเรียนรู้ผ่านคอมพิวเตอร์
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
ระบบสำนักงานไร้กระดาษ (e-Office)
โดย สุกาญจนา ทิพยเนตร 1. สร้างสรรค์นวัตกรรมทางเทคโนโลยี สารสนเทศที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงที่ นำมาสนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เชี่ยวชาญ.
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้ ด้วยมูเดิ้ล ในโรงเรียนสังกัดกองกำกับการตำรวจ ตระเวนชายแดนที่ 44 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้ ด้วยมูเดิ้ล ในโรงเรียนสังกัดกองกำกับการตำรวจ.
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมพงษ์ เจริญศิริ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาฐานข้อมูลตัวแทนให้บริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ (The Database Development of Electronic Informaiton Broker Online Services) สมพงษ์ เจริญศิริ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ทำไปทำไม ??? มีปัญหามากนักหรือ???

ทำแล้วจะได้อะไรนะ.... “การจัดหาทรัพยากรไว้ล่วงหน้าเผื่อจะมีผู้มาใช้บริการ” (Just In Case Service) มาสู่ “การจัดหาเมื่อผู้ใช้บริการต้องการใช้” (Just In Time Services) ความร่วมมือระหว่างกัน (Library Co-operation) เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างห้องสมุด (Library Resources Sharing) เพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน การพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้และการแบ่งปัน เป็นต้นแบบในการให้บริการแก่แหล่งบริการสารสนเทศ

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลตัวแทนให้บริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อฐานข้อมูลตัวแทนให้บริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ เพื่อพัฒนาต้นแบบตัวแทนให้บริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน การศึกษาเอกสาร งานวิจัย สอบถาม กระบวนการปฏิบัติงาน การทำงานจริง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ หน่วยงานส่วนราชการในจังหวัดมหาสารคาม ทั้งเป็นสถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่สนับสนุนทางการศึกษา การพัฒนาระบบ ฐานข้อมูลใช้มายเอสคิวแอล (MySQL) ภาษาพีเอชพี (PHP) ระบบปฏิบัติการใช้ ลีนุกซ์ (Linux) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อฐานตัวแทนให้บริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ การวิเคราะห์ข้อมูล

สรุปผลและข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนาฐานข้อมูลตัวแทนให้บริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ ทำให้ได้ฐานข้อมูลตัวแทนให้บริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ ที่มีประสิทธิภาพที่สามารถทำงานได้ดีในส่วนสำคัญ 2 ส่วน ดังนี้

1.1 ส่วนผู้ใช้บริการ ( http://copper.msu.ac.th/ibo ) 1.1 ส่วนผู้ใช้บริการ ( http://copper.msu.ac.th/ibo )

1.2 ส่วนเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ( http://copper.msu.ac.th/ibo/admin )

2. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เข้าฝึกอบรมที่มีต่อฐานข้อมูล ตัวแทนให้บริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ ผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นต่อการอบรมเรื่องการพัฒนาฐานข้อมูลตัวแทนให้บริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ โดยรวมอยู่ระดับมากทุกด้าน

ประโยชน์ที่ได้จากการวิจัย สำนักวิทยบริการ มีความเข้มแข็งทางด้านการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ไม่ว่าจะบอกรับเป็นสมาชิกเอง หรือใช้ร่วมกันในรูปเครือข่ายความร่วมมือ อันแสดงให้เห็นถึงความได้เปรียบหรือความเข้มแข็งทางด้านการเข้าถึงมวลทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ ดังนั้นถ้ามีการนำผลจากโครงการวิจัยนี้ไปต่อยอดร่วมมือกันในการเป็นตัวแทนให้บริการสารสนเทศออนไลน์ จะทำให้ทุกหน่วยงานหรือในภาพรวมของประเทศสามารถลดความซ้ำซ้อนในการบอกรับฐานข้อมูลออนไลน์ นำไปสู่การประหยัดงบประมาณ

ข้อเสนอแนะ ควรมีการจัดตั้งเป็น เป็น Information Broker Center เพื่อให้บริการนอกระบบและเชิงพานิชย์ที่สามารถพึ่งพาตนเองได้

ขอบคุณครับ Sompong.c@msu.ac.th