รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 9 สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์, e-journals และการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : เพื่อให้นักศึกษา 1. เข้าใจลักษณะของฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ 2. รู้จักฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ของสำนักหอสมุด และ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิผล 3. สามารถสืบค้นสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ตได้
สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ (e-information) E-journal, e-book, e-news “e-version”
วิธีเข้าถึงสารสนเทศที่เก็บในรูป e-version มี 2 ส่วน 1. โปรแกรมสืบค้น - ฐานข้อมูลอ้างอิง หรือ - ฐานข้อมูลบรรณานุกรม เช่น IntraPAC, โปรแกรมดรรชนีวารสารไทย
2. เนื้อหาฉบับเต็ม - อาจยังอยู่ในรูป ‘ตัวเล่ม’ - Hard Copy - ฐานข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม - Full paper เช่น IEL DVDROMs ABI / inform Global
ฐานข้อมูล คืออะไร Field / Record Field Database เขตข้อมูล / ระเบียน แฟ้มข้อมูล Field ฐานข้อมูล Database
ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ แบ่งตามวิธีที่ได้มา มี 2 ประเภท 1. ฐานข้อมูลที่พัฒนาโดยหน่วยงานเอง (inhouse database) 2. ฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ (commercial database)
1. ฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ คือ ฐานข้อมูลที่จัดทำขึ้นเพื่อขายให้แหล่งบริการสารสนเทศ (ทั่วโลก) จึงมักจัดทำเป็นภาษาอังกฤษ และส่วนใหญ่จัดทำเป็นดรรชนีค้นบทความภาษาต่างประเทศ และนำเสนอบทความฉบับเต็มให้ด้วย
ฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ในรูป CD-ROM ที่มีบริการในสำนักหอสมุด มทม. มีดังนี้ 1. ABI / inform (Administration / Business) 2. ASTp (Applied Science & Technology) 3. DAO (Discertation Abstract) 4. IEL (เดิมให้บริการ I PO)
มาศึกษาวิธีใช้งาน โปรแกรม ProQuest กันดีกว่าค่ะ
2. e-journals คือ การอ่านบทความฉบับเต็มบนอินเทอร์เน็ต คือ การอ่านบทความฉบับเต็มบนอินเทอร์เน็ต มี 2 ประเภท คือ : - - e-journals ที่ออกคู่ขนานกับ Hard copy - e-journals ที่ออก e-version อย่างเดียว
วิธีเข้าถึง e-journals มี 1. Free Online for print subscription บอกรับ ตัวเล่ม + เงินอีก 10 - 15% ได้ e-version e-v. - ดูย้อนหลัง 5 ปี - ไปข้างหน้า 5 ฉบับ สะดวก อยู่บ้าน - อยู่ที่ไหนก็ดูได้ สนพ. จะให้ user name และ password หรือไม่ก็ set IP add - IP range
2. Free back issues เข้าไปอ่านได้ฟรี และเป็นฉบับล่วงเวลา วารสารของหน่วยงาน - หน่วยราชการ ไม่หวังผลกำไร สมาคมวิชาการ, วิชาชีพ เดี๋ยวนี้ ว. ทางสาธารณสุข การแพทย์ เยอะมากที่ให้ Free www.highwire.org
3. Free Trial Period ให้ทดลองใช้ Free เป็นช่วงเวลา 1 เดือน ; 3 เดือน ; 6 เดือน ต้องมี user name P/W www.proquest.com www.sciencedirect.com
ค้นแล้วได้ดู อ่าน - print full paper ด้วย มีบริษัทค้าข้อมูล ทำหน้าที่รวบรวมดรรชนีวารสาร มาทำระบบสืบค้น แล้วขอซื้อลิขสิทธิ์มาจากสำนักพิมพ์ ค้นแล้วได้ดู อ่าน - print full paper ด้วย
4. Free Site ด้านการแพทย์ www.freemedicaljournals.com
ค่าบอกรับ ถูก - แพง ขึ้นอยู่กับจำนวน Terminal ที่จะเข้าใช้ 5. Online Subscription บอกรับแบบ Online ค่าบอกรับ ถูก - แพง ขึ้นอยู่กับจำนวน Terminal ที่จะเข้าใช้ ราคา Single User แตกต่างกัน ราคา Multi User
เข้าไปที่ www.proquest.com 3. ฐานข้อมูลออนไลน์ ProQuest Direct - สำหรับทดลองใช้ เข้าไปที่ www.proquest.com
การค้นหาข้อมูล บนอินเทอร์เน็ต การค้นหาข้อมูล บนอินเทอร์เน็ต
* เราต้องรู้ Internet address หรือรู้ URL เช่น ต้องการค้นเรื่อง นกพิราบขาว เราก็ต้องไปที่ www.fly.to/whitepigeon
Search Engine *แต่ถ้าเราไม่รู้ Internet address เราก็ต้องรู้จักเครื่องมือค้นหา ข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ที่เราเรียกว่า Search Engine
Search Engine ที่โด่งดังมากสมัยหนึ่ง คือ www.yahoo.com โด่งดังรองๆ ลงมา คือ Alta Vista Infoseek (Go.com) Excite มีการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ เป็นหมวดหมู่
ต่อมา Yahoo ได้พัฒนาตัวเองให้เป็น Portal site = ที่รวมของ website ดีๆ เชื่อถือได้ แบ่งเป็น 14 กลุ่ม
แหล่งรวมเว็บไซด์เกี่ยวกับประเทศไทย www.108-1009.com www.chai-yo.com www.thaiall.com www.siamguru.com
ตัวอย่างวิธีใช้ e-journals และฐานข้อมูลสิทธิบัตรนานาชาติ และเทคนิคการสืบค้นแบบบูลีน