ความเป็นเลิศและความรับผิดชอบต่อสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวคิดในการพัฒนาบุคลากรระดับปริญญาเอก
Advertisements

ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา
ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Information systems; Organizations; Management; Strategy
ระบบเศรษฐกิจ.
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน
การประกันคุณภาพการศึกษา
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
แนวคิด ในการดำเนินงาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3
Knowledge Management (KM)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
การมีส่วนร่วมในสหกรณ์
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
มองอนาคตอุดมศึกษาไทย
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
AEC WATCH จับตาเปิดเสรีภาคบริการ สาขาการศึกษา
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
งานฝาก... ฝากงาน รังสรรค์ มณีเล็ก รองเลขาธิการ กพฐ.
โครงการอบรมหลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารระดับสูง มหาวิทยาลัย ( นบม.) รุ่นที่ 17 “ จุดเด่นและข้อจำกัดของ สถาบันอุดมศึกษาไทย ” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. วีระศักดิ์
งานวิเทศสัมพันธ์ ผศ.ดร.นิศากร ประคองชาติ
สถาบันคลังสมองของชาติ 26 กุมภาพันธ์ 2554
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุพรรณี สมบุญธรรม
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
ระบบข้อมูลอุดมศึกษากับ USR วิจารณ์ พานิช เสนอในงานสัมมนาทางวิชาการ ๒๕๕๓ – ๒๕๕๔ “ มหาวิทยาลัยไทยบนเวทีโลก ” ครั้งที่ ๗ “ ระบบ ข้อมูลมหาวิทยาลัยเพื่อผู้บริโภค.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเป็นเลิศและความรับผิดชอบต่อสังคม อุดมศึกษา ความเป็นเลิศและความรับผิดชอบต่อสังคม วิจารณ์ พานิช อภิปรายในการประชุมวิชาการนานาชาติ เรื่อง“ความเป็นเลิศของอุดมศึกษาไทยกับการแข่งขัน การจัดอันดับมหาวิทยาลัย ตามเกณฑ์มาตรฐานนานาชาติ : สิทธิ อำนาจ และความรับผิดชอบต่อสังคม” ๒๔ ส.ค. ๒๕๕๔

แนวทางอภิปราย ของผู้ไม่รู้จริง เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ไม่ได้พูดแทนหน่วยงานใด เน้นจินตนาการสู่การดำเนินการในอนาคต ขอบคุณที่ให้โอกาสเรียนรู้

ยุคใหม่ของอุดมศึกษา Massification Diversification Competition, Image Commercialization? Commoditization? From Expense to Investment Development Partner Innovation Mover / Best Brains as assets Social Responsibility (Outside-in View)

เกิด U Ranking เพราะ สังคมต้องการสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เพื่อเลือกที่เรียน เพื่อเลือกที่ทำงาน เลือกคนสมัครงาน เพื่อใช้จัดสรรทรัพยากร เพื่อการบริจาค ความร่วมมือ เพื่อใช้ยกย่อง ให้รางวัล คนเก่ง (และดี)

เกิด U Ranking เพราะ เป็นเครื่องมือของระบบทุน เพื่อใช้ข้อมูลของ Publication & Citation เพื่อใช้สื่อสาร “สินค้า” คุณภาพสูง เพื่อทำให้ระบบ Heirarchical Classification ได้รับการยอมรับ (อีกระบบหนึ่งคือ Field Specialization) ดึง best brains สู่โลกตะวันตก

ตัวชี้วัดที่ใช้ใน U Ranking Beginning Characteristics Learning Inputs : Faculty Learning Inputs : Resources Learning Environment (NSSE) Learning Outputs Final Outcomes (+ employability, entrepreneurship) Research Reputation

ประเทศใช้ U Ranking เพื่อ แสดง competitiveness ด้านอุดมศึกษาของประเทศ National Image Pick winners จัดสรรทรัพยากร

Global vs. National Ranking/Rating เขากำหนดเกณฑ์ เน้นเพื่อการแข่งขัน กระตุ้นการแข่งขัน ภายใต้ลัทธิทุนนิยม แข่งขัน ครองโลก แต่ละสำนักมีเกณฑ์เดียว เราไม่ควรจัดสรรทรัพยากรตามผลของเขา เรากำหนดเกณฑ์เองได้ ใช้กระตุ้นทิศทางการพัฒนา กระตุ้นความร่วมมือ สร้างลัทธิพอเพียง แบ่งปัน อยู่ร่วมกัน ตั้งเกณฑ์แยกกลุ่มได้ ตั้งเกณฑ์ให้นำไปสู่การจัดสรรทรัพยากรได้

สารสนเทศอุดมศึกษา ๓๖๐ องศา ไม่ปล่อยไว้ในมือธุรกิจ, รัฐบาล อังกฤษ www.hesa.ac.uk สหรัฐอเมริกา www.voluntarysystem.org www.collegeportraits.org

Higher Education Statistics Agency (UK) NPO 75 คน 5 ล้านปอนด์ สมาชิก : มหาฯ ทปอ. หน่วยจัดสรร งปม. ใช้อำนาจทางกฎหมายของหน่วยจัดสรร งปม. สำรวจความต้องการข้อมูล เก็บข้อมูลรายปี เผยแพร่ จัดทำรายงาน ให้บริการข้อมูล ใช้สารสนเทศเป็นเครื่องมือ เพิ่ม Quality, Effectiveness และ Efficiency ของอุดมศึกษา

ข้อเสนอการใช้ประโยชน์ GUR ศึกษา ตีความ นำมาสังเคราะห์ใช้พัฒนาระบบ อศ. ของเราเอง ใช้ National (Thai) Higher Education Statistics เป็นตัวขับเคลื่อน THESA เป็นองค์กรอิสระ stakeholders ร่วมเป็นเจ้าของ มี independent board

การใช้ข้อมูลจาก THESA เป็น consumer information ใช้จัดสรรทรัพยากรสาธารณะ เพื่อการแข่งขัน และเพื่อความเป็นธรรม Achievement-based resources allocation – ถมเนิน ไม่ใช่ถมบ่อที่ไม่มีวันเต็ม สถาบันอุดมศึกษาใช้พัฒนาตนเอง Stakeholders ใช้เลือก partner