ความเป็นเลิศและความรับผิดชอบต่อสังคม อุดมศึกษา ความเป็นเลิศและความรับผิดชอบต่อสังคม วิจารณ์ พานิช อภิปรายในการประชุมวิชาการนานาชาติ เรื่อง“ความเป็นเลิศของอุดมศึกษาไทยกับการแข่งขัน การจัดอันดับมหาวิทยาลัย ตามเกณฑ์มาตรฐานนานาชาติ : สิทธิ อำนาจ และความรับผิดชอบต่อสังคม” ๒๔ ส.ค. ๒๕๕๔
แนวทางอภิปราย ของผู้ไม่รู้จริง เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ไม่ได้พูดแทนหน่วยงานใด เน้นจินตนาการสู่การดำเนินการในอนาคต ขอบคุณที่ให้โอกาสเรียนรู้
ยุคใหม่ของอุดมศึกษา Massification Diversification Competition, Image Commercialization? Commoditization? From Expense to Investment Development Partner Innovation Mover / Best Brains as assets Social Responsibility (Outside-in View)
เกิด U Ranking เพราะ สังคมต้องการสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เพื่อเลือกที่เรียน เพื่อเลือกที่ทำงาน เลือกคนสมัครงาน เพื่อใช้จัดสรรทรัพยากร เพื่อการบริจาค ความร่วมมือ เพื่อใช้ยกย่อง ให้รางวัล คนเก่ง (และดี)
เกิด U Ranking เพราะ เป็นเครื่องมือของระบบทุน เพื่อใช้ข้อมูลของ Publication & Citation เพื่อใช้สื่อสาร “สินค้า” คุณภาพสูง เพื่อทำให้ระบบ Heirarchical Classification ได้รับการยอมรับ (อีกระบบหนึ่งคือ Field Specialization) ดึง best brains สู่โลกตะวันตก
ตัวชี้วัดที่ใช้ใน U Ranking Beginning Characteristics Learning Inputs : Faculty Learning Inputs : Resources Learning Environment (NSSE) Learning Outputs Final Outcomes (+ employability, entrepreneurship) Research Reputation
ประเทศใช้ U Ranking เพื่อ แสดง competitiveness ด้านอุดมศึกษาของประเทศ National Image Pick winners จัดสรรทรัพยากร
Global vs. National Ranking/Rating เขากำหนดเกณฑ์ เน้นเพื่อการแข่งขัน กระตุ้นการแข่งขัน ภายใต้ลัทธิทุนนิยม แข่งขัน ครองโลก แต่ละสำนักมีเกณฑ์เดียว เราไม่ควรจัดสรรทรัพยากรตามผลของเขา เรากำหนดเกณฑ์เองได้ ใช้กระตุ้นทิศทางการพัฒนา กระตุ้นความร่วมมือ สร้างลัทธิพอเพียง แบ่งปัน อยู่ร่วมกัน ตั้งเกณฑ์แยกกลุ่มได้ ตั้งเกณฑ์ให้นำไปสู่การจัดสรรทรัพยากรได้
สารสนเทศอุดมศึกษา ๓๖๐ องศา ไม่ปล่อยไว้ในมือธุรกิจ, รัฐบาล อังกฤษ www.hesa.ac.uk สหรัฐอเมริกา www.voluntarysystem.org www.collegeportraits.org
Higher Education Statistics Agency (UK) NPO 75 คน 5 ล้านปอนด์ สมาชิก : มหาฯ ทปอ. หน่วยจัดสรร งปม. ใช้อำนาจทางกฎหมายของหน่วยจัดสรร งปม. สำรวจความต้องการข้อมูล เก็บข้อมูลรายปี เผยแพร่ จัดทำรายงาน ให้บริการข้อมูล ใช้สารสนเทศเป็นเครื่องมือ เพิ่ม Quality, Effectiveness และ Efficiency ของอุดมศึกษา
ข้อเสนอการใช้ประโยชน์ GUR ศึกษา ตีความ นำมาสังเคราะห์ใช้พัฒนาระบบ อศ. ของเราเอง ใช้ National (Thai) Higher Education Statistics เป็นตัวขับเคลื่อน THESA เป็นองค์กรอิสระ stakeholders ร่วมเป็นเจ้าของ มี independent board
การใช้ข้อมูลจาก THESA เป็น consumer information ใช้จัดสรรทรัพยากรสาธารณะ เพื่อการแข่งขัน และเพื่อความเป็นธรรม Achievement-based resources allocation – ถมเนิน ไม่ใช่ถมบ่อที่ไม่มีวันเต็ม สถาบันอุดมศึกษาใช้พัฒนาตนเอง Stakeholders ใช้เลือก partner