การตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ และพัฒนาองค์กร
มาตรการพัฒนาและบริหารกำลังคน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบราชการ
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
เพื่อรับการประเมินภายนอก
การจัดซื้อ – จัดจ้าง และสรรหาผู้รับจ้าง
OCCURRENCE REPORT FORM
การสอบเทียบเครื่องมือวัด
ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย หน่วยไฟฟ้า งานซ่อมบำรุง
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
PDCA คืออะไร P D C A.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
COP : พัฒนาแหล่งน้ำ.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
โครงการขับเคลื่อนกรอบ คุณวุฒิแห่งชาติ สู่การจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาเอกชนประเภท อาชีวศึกษา.
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การออกแบบการวิจัย.
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
แบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน งานซ่อมบำรุง โรงพยาบาลศิริราช

วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบคุณภาพภายใน งานซ่อมบำรุง ได้มีนโยบายให้มีการตรวจสอบคุณภาพภายในหน่วยงานซ่อมบำรุง และทุกหน่วยช่างที่สนับสนุน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อติดตามความก้าวหน้าของระบบ และกลไก การประกันคุณภาพ พร้อมทั้งเป็นการเตรียมความพร้อมของงานซ่อมบำรุงในก้าวสู่ ISO 9001 : 2008

หน่วยงานที่ได้รับการตรวจสอบคุณภาพภายใน งานซ่อมบำรุง ได้ดำเนินการตรวจสอบคุณภาพภายใน โดยในปี 2555 มีหน่วยงานสนับสนุนที่ได้รับการตรวจสอบคุณภาพภายใน ดังนี้ หน่วยธุรการ หน่วยไฟฟ้า หน่วยเครื่องกล หน่วยประปา หน่วยโยธา ทีมพัฒนาคุณภาพงาน หัวหน้างานซ่อมบำรุง (QMR)

หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพภายใน ใช้หลักเกณฑ์ตามข้อกำหนดมาตรฐาน ISO 9001:2008

การวางแผนการตรวจสอบภายใน การวางแผนเป็นการติดต่อล่วงหน้าก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงานจริง การวางแผนที่ดีช่วยให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ภายในระยะเวลา งบประมาณ และอัตรากำลังที่กำหนด กล่าวโดยสรุปได้ว่าการวางแผนที่ดีจะช่วยให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ผู้ตรวจสอบภายในจะต้องให้ความสำคัญต่อการวางแผนการตรวจสอบ นอกจากจะเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามมาตรฐานแล้วยังเพื่อแสดงประสิทธิผลและประสิทธิภาพของงานตรวจสอบก่อนที่ผู้ตรวจสอบจะไป ประเมินประสิทธิผลและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้อื่น

ประโยชน์ของการวางแผนการตรวจสอบภายใน เป็นแนวทางในการพัฒนาและปฏิบัติงานตรวจสอบ ช่วยให้ทุกกิจกรรมของหน่วยงานได้รับการตรวจสอบอย่างครบถ้วน ตามลำดับความสำคัญ ชักชวนหรือเปิดโอกาสให้ฝ่ายบริหารมีส่วนร่วมโดยของความเห็นในการวางแผน เป็นเครื่องมือควบคุมการปฏิบัติงานของหน่วยงานตรวจสอบ เป็นเครื่องมือในการประสานงานและลดความซ้ำซ้อนของการปฏิบัติงานกับผู้ตรวจสอบ

แผนการตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน

การเตรียมการตรวจสอบ การเลือกคณะผู้ตรวจสอบ การกำหนดเวลาและการนัดหมายหน่วยรับตรวจ การกำหนดวัตถุประสงค์การตรวจสอบในขั้นต้น

สรุปผลการตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน จากการตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน ทางทีมตรวจสอบได้ตรวจสอบพบว่ามีความสิ่งไม่สอดคล้องหรือไม่เป็นไปตามข้อกำหนด หรือหมายความรวมถึงขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดของระบบบริหารคุณภาพ ทีมผู้ตรวจสอบได้ออกใบ CAR ใบ PAR เพื่อให้หน่วยงานที่ได้รับนำไปแก้ไข ดังนี้ ใบ CAR จำนวน 18 ใบ ใบ PAR จำนวน 5 ใบ โดยจำแนกได้ดังนี้

สรุปผลการตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน หน่วยธุรการ ใบ CAR จำนวน 2 ใบ ใบ PAR จำนวน 2 ใบ หน่วยไฟฟ้า ใบ CAR จำนวน 4 ใบ ใบ PAR จำนวน 1 ใบ หน่วยเครื่องกล ใบ CAR จำนวน 7 ใบ ใบ PAR จำนวน 2 ใบ

สรุปผลการตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน หน่วยประปา ใบ CAR จำนวน 3 ใบ ใบ PAR จำนวน - ใบ หน่วยโยธา ใบ CAR จำนวน 2 ใบ ใบ PAR จำนวน - ใบ ทีมพัฒนาคุณภาพงาน ใบ CAR จำนวน - ใบ ใบ PAR จำนวน - ใบ

สรุปผลการตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน หัวหน้างานซ่อมบำรุง (QMR) ใบ CAR จำนวน - ใบ ใบ PAR จำนวน - ใบ

ปัญหาและอุปสรรคการตรวจสอบระบบบริหารคุณภาภายใน การเรียกเก็บใบ CAR และใบ PAR ได้ล่าช้า ความพร้อมเพียงในการรับการตรวจสอบคุณภาพภายในไม่ค่อยพร้อมเพียง ระยะเวลาในการตรวจสอบคุณภาพภายในใช้เวลาในการตรวจสอบมากเกินไป ความพร้อมเพียงของทีมตรวสอบคุณภาพภายในไม่ค่อยพร้อมเพียง

ข้อสงสัย คำถาม ?

ขอบคุณครับ !