การพัฒนาระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูลด้านการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หน้าจอแรกให้ระบุ user name และ password ( กรณีสมัคร ทุน Window I) ถ้าสมัครทุน Window II คลิกลงทะเบียน เพื่อดูว่ามีต้นสังกัดระดับมหาวิทยาลัย / คณะ / ภาควิชาร่วม.
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน
การจัดการบริการสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและสร้างความ พึงพอใจแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ๒. เพื่อให้หน่วยให้ความสำคัญกับการวัดความพึงพอใจ.
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
ครุศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)

การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
CAMT Ratchapong Horchairat No หลักการการวิจัยการ จัดการความรู้ (Principles of Knowledge Management Research) KM704 1 Assignment.
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบการบริหาร โครงการวิจัย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การติดตั้งโปรแกรมประยุกต์บนแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
ประจำปีการศึกษา 2556 (1 มิถุนายน 56 – 31 กรกฏาคม 57) การประชุมทำความเข้าใจ สำหรับรับการตรวจประเมิน คุณภาพการศึกษาหน่วยงาน สายสนับสนุนผ่านระบบ ESAR.
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
งานกิจการนิสิต
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แผนการดำเนินงาน 2558 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Evaluation of Thailand Master Plan
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
หน่วยที่ ๖ การเขียนประชาสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ขั้นตอนการเข้าสู่ระบบการประเมิน 1. เข้าสู่ home page คณะเกษตรศาสตร์ 2. เลือก AG-MIS รูปที่ 1 รูปที่ 1.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูลด้านการวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูลด้านการวิจัย ดุษณี ดำมีและคณะ งานสนับสนุนการวิจัย

วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูลด้านการวิจัยของสถาบัน ที่ครอบคลุมมาตรฐานการประกันคุณภาพด้านการวิจัย ในการประเมินคุณภาพด้านการวิจัยของหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย 2. เพื่อลดขั้นตอนและเวลาในการค้นหาข้อมูล และกรอกข้อมูลแก่หน่วยงานต่างๆ

ผลที่ได้จากการศึกษา 1. มาตรฐานตัวชี้วัดคุณภาพงานวิจัย 2. ระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลด้านการวิจัย 3. ผลการสำรวจการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย

ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ 1. ใช้เป็นข้อมูลในการอ้างอิงและเป็นหลักฐานในการประเมินคุณภาพด้านการวิจัย ของหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย 2. ลดขั้นตอนและเวลาในการค้นหาข้อมูล 3. อาจารย์ นักวิจัยและบุคลากรสถาบันฯ ที่มีผลงานอยู่ในฐานข้อมูล สามารถนำไปประกอบการใช้ประโยชน์ด้านผลงานวิชาการ 4. เป็นการเผยแพร่ผลงานวิชาการอีกรูปแบบหนึ่ง 5. นำไปประยุกต์ใช้กับมาตรฐานคุณภาพของงานด้านอื่นๆได้ 6. ผลการวิจัยด้านการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย สามารถนำไปเป็นข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการงานวิจัยให้มีประสิทธิภาพต่อไป

การนำผลการวิจัยไปใช้ในงานประจำ 1. เป็นข้อมูลใช้ประกอบการประเมินตนเอง และการประเมิน จากหน่วยงานภายนอก ตลอดจนอาจารย์ นักวิจัย และบุคลากรที่มีผลงานอยู่ในฐาน สามารถใช้ประกอบการทำความก้าวหน้าในสายงาน

ความก้าวหน้าของโครงการ (1) เรื่องฐานข้อมูล 1. คีย์ข้อมูลเสร็จแล้ว ทุกเมนูหลัก 2. แจ้ง Password และ Username แก่อาจารย์ นักวิจัยและบุคลากรที่มีรายชื่อและผลงานด้านวิจัย เพื่อ Update ข้อมูลใน Profile ของตนเองแล้ว 3. อยู่ระหว่างพัฒนาเพิ่มเติม โดยจัดทำเป็นคลังข้อมูลวิจัย (2) เรื่องรายงานฉบับสมบูรณ์ ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์แล้ว

ปัญหาอุปสรรค 1.อาจารย์ นักวิจัย บุคลากร ซึ่งมีชื่ออยู่ในฐานข้อมูล ไม่ได้ เข้าไป Update ข้อมูลใน Profile ของตนเอง ทำให้ข้อมูลในเมนูหลัก บุคลากรด้านการวิจัย ไม่มีความสมบูรณ์ 2.ผู้วิจัย ไม่มีพื้นฐานความรู้ในการเขียนโปรแกรม และภาษาของโปรแกรมเมอร์ ทำให้การสื่อสารกับโปรแกรมเมอร์ ไม่ตรงกับความต้องการ ทำให้ต้องแก้ไขระบบหลายครั้ง 3.เมนูด้านการนำเสนอผลงานวิจัย ไม่สามารถหาข้อมูลมาลงได้ เพราะสถาบันฯไม่มีการเก็บข้อมูลในส่วนนี้

THE END THE END THE END