งานสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
Advertisements

การเพิ่มประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการบริหารจัดการข้อมูล
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
บริการข้อมูลออนไลน์จากศูนย์สารสนเทศนานาชาติ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แผนกบริหารสินค้า (หนังสือไทย) ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
โครงการ “การจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร ในรายการเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัย”
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
กลุ่ม CU_REGISTRAR_FB
ปรู๊ฟทันใจ โครงการ แผนกลูกค้าสัมพันธ์
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
โครงการ ตรวจเช็คเพื่อความปลอดภัย
ถุงเงิน ถุงทอง.
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน
โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean
โครงการ อบอุ่นใจให้เราดูแล
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การให้บริการหลักฐานการศึกษา แบบ One Stop Service สำนักทะเบียนนักศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ นำเสนอโดย อ.พรพรรณ ศุภภิญโญพงศ์ อ.ปุษยาพร อุทัยพยัคฆ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สถานที่ฝึกงาน ที่ว่าการอำเภอโคกโพธิ์ ถนนเพชรเกษม ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี แผนกงานที่รับผิดชอบ งานฝ่ายทะเบียนและบัตรประจำตัวประชาชน.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รับเอกสาร การตรวจ สุขภาพ รายชื่อติด กับ กระดาน หรือโต๊ะ ประตูทางเข้า ประตู ทางออก ลงทะเบียนและรับ หลอดเลือด ชั่ง น้ำหนัก / วัดส่วนสูง เจาะ เลือด พบแพทย์
บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
แผนผังบุคลากรงานบริหารงานทั่วไป
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
กลุ่มที่ 4.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
งานกิจการนิสิต
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
ขั้นตอนการเดินทางของเอกสาร
ชื่อโครงการ ผู้นำเสนอ ฝ่าย การประชุมนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2550 ปฏิบัติการ รัตนศักดิ์ พิลึก การพัฒนาสื่อเพื่องานนิทรรศการ.
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
สำนักงานแรงงานจังหวัดยะลา
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพ งานสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ เรื่อง การให้บริการตรวจสุขภาพประจำปี หน้าที่ : ประสานงานให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีแก่ บุคลากรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บุคลากรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาฯ งานสวัสดิการ บุคลากรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ชื่อโครงการพัฒนาคุณภาพงาน : “การวางแผนปรับระบบการจัดสวัสดิการตรวจสุขภาพประจำปี ให้กับบุคลากรโดยไม่ต้องกรอกใบสมัคร” ชื่อกลุ่ม “No more form”

จากการประสานงานให้บริการตรวจฯ มาตั้งแต่ปี 2542 ที่มาของโครงการ :- จากการประสานงานให้บริการตรวจฯ มาตั้งแต่ปี 2542 กำหนดให้บุคลากรที่ประสงค์จะตรวจสุขภาพประจำปี ต้องกรอกใบสมัคร ผ่านหน่วยงานมายังงานสวัสดิการ ซึ่งผู้ที่ไม่ได้กรอกใบสมัครจึงไม่มีชื่อในการให้บริการตรวจ ** ทำให้เกิดความยุ่งยากในการเพิ่มชื่อขอตรวจ ณ หน้างานตรวจ ในขณะที่อาจกำลังให้บริการตรวจอยู่เป็นจำนวนมาก ** และบางคนกรอกใบสมัครแล้วไม่มีชื่อในเอกสารลงทะเบียน และบางคน ชื่อ-นามสกุล หรืออายุ ไม่ถูกต้อง ** การให้บริการตรวจแบบเดิม กำหนดให้ผู้รับการตรวจดำเนินการ ตามขั้นตอนที่กำหนดไว้เท่านั้น ** คือ ปัญหา

เป้าหมายของโครงการ เครื่องชี้วัด มีเป้าหมาย ในการอำนวยความสะดวกให้บุคลากรรับการตรวจด้วยความถูกต้อง สะดวก รวดเร็ว คล่องตัว ทันสมัย และลดการเกิดปัญหา เครื่องชี้วัด เครื่องชี้วัด วัดจากความพึงพอใจของบุคลากรผู้รับบริการตรวจ จากการตอบแบบสอบถาม

BEFORE กรอกใบสมัคร File รายชื่อ-นามสกุล วัน เดือน ปี เกิด อายุ สังกัดหน่วยงาน สถานภาพการบรรจุ ปัญหา ** ผู้ที่ไม่ได้กรอกใบสมัครแต่ประสงค์จะตรวจ ทำให้เกิดความยุ่งยากในการเพิ่มชื่อขอตรวจ ณ หน้างานตรวจ ในขณะที่อาจกำลังให้บริการตรวจอยู่เป็นจำนวนมาก ** และบางคนกรอกใบสมัครแล้วไม่มีชื่อในเอกสารลงทะเบียน บางคน ชื่อ-นามสกุล หรืออายุ ไม่ถูกต้อง เนื่องจากลายมือกรอกไม่ชัดเจน

การลงทะเบียน ด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ SAP AFTER Report รายงาน รายชื่อบุคลากรทั้งหมด และข้อมูลส่วนบุคคล จากระบบบริหารงานบุคคล SAP การลงทะเบียน ด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ หลังจากปรับปรุงแล้ว จะเกิดความถูกต้อง ความสะดวก รวดเร็ว ทันสมัย

BEFORE AFTER การนำข้อมูลบุคลากรจากระบบ SAP มาใช้ประกอบกับการให้บริการลงทะเบียนตรวจด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ทำให้เกิดความถูกต้อง สะดวก รวดเร็ว ทันสมัย

** การให้บริการตรวจแบบเดิม กำหนดให้ผู้รับการตรวจดำเนินการ ตามขั้นตอนที่กำหนดไว้เท่านั้น ขั้นตอนการให้บริการตรวจสุขภาพประจำปี 1. ลงทะเบียน ผู้เข้ารับการตรวจ     2. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว   3. วัดความดันโลหิต

ขั้นตอนการให้บริการตรวจสุขภาพประจำปี   4. รับหลอดเลือด   5. เจาะเลือด   6. เอ็กซ์เรย์ปอด

** การให้บริการตรวจแบบเดิม กำหนดให้ผู้รับการตรวจดำเนินการ ตามขั้นตอนที่กำหนดไว้เท่านั้น การปรับปรุงแก้ไข : - จัดเจ้าหน้าที่ดูแลอำนวยความสะดวกทุกขั้นตอน โดยหากขั้นตอนใดมีผู้รอรับบริการเป็นจำนวนมาก อาจขอให้ไปตรวจในขั้นตอนที่มีผู้รับบริการน้อยก่อน แล้วจึงกลับมาตรวจในขั้นตอนในขั้นตอนที่ยังไม่ได้ตรวจ ปรับปรุงแล้วจะเกิดความยืดหยุ่น คล่องตัว และรวดเร็ว

การตรวจสุขภาพประจำปี การปรับปรุงด้านการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การตรวจสุขภาพประจำปี จัดทำแผ่นพับแสดงรายละเอียดเพื่อการประชาสัมพันธ์ เช่น กำหนดการตรวจ การเตรียมตัวก่อนเข้ารับการตรวจ รายการตรวจ การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ อาทิ สื่อวีดีทัศน์ฉายตามโรงอาหาร ประชาสัมพันธ์ในเวปไซท์ Email โปสเตอร์ หนังสือเวียน ฯลฯ *********************

Mrs.Rattanaporn Luangprasiat Present by Mr.Thawee kanjanapoo Mrs.Rattanaporn Luangprasiat