Doctor of Philosophy Program in Biopharmaceutical Sciences

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
Advertisements

หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร  เปิดหลักสูตรมาตั้งแต่ ปี 2523 ผลิตนิสิตระดับปริญญา โทเข้าทำงานในหน่วยราชการและเอกชนมากกว่า 30 รุ่น  หลักสูตรเทคโนโลยีทางอาหารระดับปริญญา.
สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
Faculty of Pharmaceutical Sciences
พบประธานกรรมการประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ประวัติและประสบการณ์การทำงาน
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
ภาควิชากีฏวิทยา ภาควิชากีฏวิทยา ให้การศึกษาทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับแมลง เพื่อนำความรู้ไปแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ รู้จักแมลงที่มีประโยชน์และโทษ.
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตด้านสารสนเทศทางธุรกิจ มีวัตถุประสงค์ที่
ประวัติความเป็นมา วัตถุประสงค์
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Master of Science in Marketing
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต Master of Science (Mental Health) ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ของหลักสูตร.
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master of Arts in Pali and Sanskrit Chulalongkorn University วัตถุประสงค์
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สำนักงานภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีทางอาหาร
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
in Research for Health Development
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
หลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สัตววิทยา (Zoology)
Ph.D. (Thai Theatre and Dance) at CHULA
Biomedical Engineering
“ทฤษฎีและปฎิบัติ สร้างสรรค์และวิจัย การละครร่วมสมัย”
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต/ดุษฎีบัณฑิต โครงสร้างของหลักสูตร
MA (Thai Dance) at CHULA
รายละเอียดข้อมูลทั่วไป
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
ทิศทางในการดำเนินงานของห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา การดำเนินงานวิจัย พัฒนาและบริการวิชาการด้าน ไวรัสวิทยา โดยมุ่งเน้นศึกษาไวรัสที่เป็นปัญหาทางด้าน สาธารณสุขของประเทศ.
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การแถลงผลการประชุม เรื่อง
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Company LOGO หลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา ที่เปิดรับสมัคร ปี การศึกษา 2551 คณะทันตแพทยศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชารังสีวิทยาช่องปากและใบหน้า.
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
Nanotechnology Cluster ภาคใต้ 1 โครงการพัฒนา นักวิจัยไทย ด้านวิทยาศาสตร์ เคมี และเภสัช ภาคใต้ ระยะที่ 2 แผน 5 ปี ( )
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
Company LOGO หลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา ที่เปิดรับสมัคร ปีการศึกษา 2551 คณะทันตแพทยศาสตร์ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชาวิทยาเอ็นโดดอนต์
ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Doctor of Philosophy Program in Biopharmaceutical Sciences Faculty of Pharmaceutical Sciences Chulalongkorn University

สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ชีวภาพ การเสาะแสวงหา และพัฒนายาขึ้นในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมและสะดวกในการใช้ในการบำบัดบรรเทา พิเคราะห์โรค ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ การศึกษาทางพิษวิทยาของยาและสารพิษซึ่งอาจส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จำเป็นต้องอาศัยบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถอย่างสูง จากความสำคัญนี้ จึงได้เปิด หลักสูตร วท.ด. (เภสัชศาสตร์ชีวภาพ) เพื่อสร้างบุคลากรที่มีคุณภาพเหล่านี้ขึ้นภายในประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ : 1. ผลิตวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาเภสัชศาสตร์ชีวภาพ ที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญทั้งทางด้านวิชาการและการวิจัยในระดับนานาชาติ 2. สร้างงานวิจัยขั้นสูง ที่กอปรด้วยคุณภาพในสาขาเภสัชศาสตร์ชีวภาพ เพื่อพัฒนาวิชาการสาขานี้ในประเทศให้เท่าเทียมกับนานาประเทศ ตลอดจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้และถ่ายทอดให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมหรืออุตสาหกรรมได้

การจัดการเรียนการสอน เป็นหลักสูตรบูรณาการโดยคณาจารย์ผู้มีความรู้ความสามารถสูงของภาควิชาเภสัชวิทยา ภาควิชาสรีรวิทยา และภาควิชาชีวเคมี ซึ่งมีศักยภาพสูงทั้งทางด้านบุคลากรและเครื่องมือต่างๆ โดยทำการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ เภสัชวิทยา ประสาทวิทยาศาสตร์ พิษวิทยา การศึกษาทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของชีวโมเลกุล การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพรหรือสารสังเคราะห์ การศึกษาด้านชีวโมเลกุลของยาต้านมะเร็งและยาต้านไวรัส และอื่นๆ เนื่องจากมีการสนับสนุนจากหน่วยปฏิบัติการวิจัยต่างๆ รวมทั้งการสร้างเครือข่ายงานวิจัยของคณาจารย์ในหลักสูตรฯ ทั้งภายในประเทศและรวมถึงความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก ทั้งในสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และญี่ปุ่น โดยมีการทำโครงการวิจัยร่วมและการแลกเปลี่ยนทั้งในระดับอาจารย์และนิสิตกันอย่างต่อเนื่อง โดยมีทุนการศึกษาหลายประเภท จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร สำหรับผู้สำเร็จปริญญาตรี 72 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต) สำหรับผู้สำเร็จปริญญาโท 60 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต)

คุณสมบัติของผู้สมัครและการคัดเลือก สำเร็จปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ หรือสาขาอื่นที่เทียบเท่า และได้รับเกียรตินิยมอันดับสองหรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือ สำเร็จปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชศาสตร์หรือเทียบเท่า การคัดเลือก สอบข้อเขียนวิชาเภสัชวิทยา ชีวเคมี และสรีรวิทยา สอบสัมภาษณ์ จำนวนนิสิตที่รับ 5 คน/ปี สนใจขอข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ รศ.ดร.ธงชัย สุขเศวต ภาควิชาสรีรวิทยา คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 02-218 8339 e-mail: sthongch@chula.ac.th