ไรแมงมุม-ชีวิตภายใต้เส้นใยSpider mite – Life under Web
ไร (mite) เป็นสัตว์ที่แพร่กระจายอยู่ทั่วโลก สามารถพบได้ทุกแห่ง เป็นสัตว์อยุ่ในไฟลัม Arthropoda เช่นเดียวกับแมลง แตกต่างจากแมลงอย่างเด่นชัด คือ ลำตัวของไรแบ่งออกเป็น 2 ส่วนไม่ได้แบ่งเป็น 3 ส่วนเช่นแมลง ไรมีขา 4 คู่ในขณะที่แมลงมีขาเพียง 3 คู่เท่านั้น เป็นสัตว์ที่แพร่กระจายอยู่ทั่วโลก สามารถพบได้ทุกแห่ง ทะเลสาบ แม่น้ำ ทะเล มหาสมุทร น้ำพุร้อน ภูเขาสูง ทะเลทราย ป่า ถ้ำ โพรงไม้ ซากพืชซากสัตว์ ส่วนต่างๆของพืช ลำตัวมนุษย์และสัตว์ หรือแม้แต่ในอากาศ
ไรทางการเกษตร ประเทศไทยมีไรที่ทำลายศัตรูพืชเศรษฐกิจ 4 วงศ์(family) ไรแมงมุม (วงศ์ Tetranychidae) ไรแมงมุมเทียม (วงศ์ Tenuipalpidae) ไรขาว (วงศ์ Tarsonimidae) ไรสี่ขา (วงศ์ Eriophyidae และ Diptilomiopidae)
ไรแมงมุม(spider mite) ไรที่แพร่ระบาดและสร้างความเสียหายให้กับพืชมากที่สุด แพร่ระบาดในทุกทวีปทั่วโลก โดยเฉพาะแหล่งเกษตรกรรมของทุกประเทศ ได้รับการตั้งชื่อแล้วมีประมาณ 70 สกุล 1200 ชนิด มีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาไรศัตรูพืชด้วยกัน ไรแมงมุมบางชนิด มีต่อมสร้างเส้นใย (silk gland) เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิต
ไรแมงมุม Phylum :Arthopoda Subphylum : Chelicerata Class : Arachnida Order : Acari Family : Tetranychidae
ลักษณะทางโครงสร้างของไรแมงมุม ที่มา : Helle and Sabelis, 1985
ส่วนปาก (gnathosoma) ก และ ข) ระยางค์ปากของ Tetranychus sp. และ Bryobia sp. (ที่มา: Helle and Sabelis, 1985) ค และ ง) ปล้อง tarsus ของระยางค์ปากไร Eutetranychus orientalis และ Eotetranychus cendanai ซึ่งมีเส้นใยติดอยู่ปลายขน eupathidia (su) (ที่มา: อังศุมาลย์, 2550)
ลำตัว (idiosoma) ก) ชื่อเส้นขนบนหลังของไรแมงมุม ก) ชื่อเส้นขนบนหลังของไรแมงมุม ข , ค ) เส้นขนบนขาและบนสันหลังของไร ที่มา : Helle and Sabelis, 1985
วัฏจักรชีวิต ที่มา: Cranshaw and Sclar, 2007
ลักษณะการเข้าทำลายพืช ที่มา : htpp://www. Spide Mites.htm
ลักษณะการเข้าทำลายในพืชอื่นๆ mite\UNL Entomology - Turfgrass Insects - Spider Mites.htm ที่มา : htpp://www.Pests Twospotted Spider Mite.htm
เส้นใยของไรแมงมุม ที่มา : htpp://www. Spide Mites.htm
- เส้นใยกับการแพร่กระจาย ที่มา : htpp://www. Spide Mites.htm
- เส้นใยกับการแพร่กระจาย (ต่อ) ballooning ที่มา : htpp://www.Pests Twospotted Spider Mite.htm
- เส้นใยกับการหาคู่
- เส้นใยกับการป้องกันตัว ที่มา : htpp://www.Pests Twospotted Spider Mite.htm
- เส้นใยกับการหลบหลีกศัตรู
การป้องกันกำจัด - ศัตรูธรรมชาติ ตัวห้ำ ตัวเบียน - การใช้สารเคมี
ด้วงเต่าลาย (Coccinellidae) - ศัตรูธรรมชาติ ตัวห้ำ ด้วงเต่าลาย (Coccinellidae) ในสกุล Stethorus ที่มา : htpp://www. Pests & mite (Twospotted Spider Mite).htm
- ศัตรูธรรมชาติ ไรตัวห้ำ Amblyseius longispiosus (Evans) ที่มา : htpp://www. Twospotted Spider Mite.htm
- ศัตรูธรรมชาติ ตัวเบียน ราในอันดับ Entomophthorales ที่สำคัญได้แก่ Neozygites sp. แบคทีเรีย Bacillus thuringiensis ซึ่งมี -exotoxin เป็นพิษต่อไร เชื้อ Wolbachia ไวรัส Non-occluded virus แตนเบียนในวงศ์ Braconidae ที่มา : htpp://www. Mite/ORGANIC SPIDER MITE CONTROL. htm
ที่มา : Cranshaw and Sclar, 2007 - การใช้สารเคมี Table 1: Pesticides useful to control spider mites in yards and gardens. Active Ingredient Trade Name(s) Comments acephate Orthene, certain Isotox formulations Insecticide with some effectiveness against spider mites. Systemic. abamectin Avid For commercial use only on ornamental plants. Primarily effective against twospotted spider mite; less effective against mites on conifers. Limited systemic movement. bifenthrin Talstar, others Insecticide with good miticide activity. hexythiazox Hexygon For commercial use only on ornamental plants. Selective miticide that affects developing stages and eggs only. One application per season label restriction. horticultural oils Sunspray, others Used at the "summer oil" rate (2 percent), oils are perhaps the most effective miticide available for home use. insecticidal soap several Marginally effective against twospotted spider mite and where webbing prevents penetration. Broadly labeled. spiromesifan Forbid For commercial use only on ornamental plants. Selective against mites and conserves natural enemies. sulfur various Generally sold in dust formulation for control of various fungal diseases and some mites on some ornamental and vegetable crops. ที่มา : Cranshaw and Sclar, 2007
สรุป ไรแมงมุมสามารถผลิตเส้นใยทีเอื้ออำนวยประโยชน์ในดำรงชีวิต และการเข้าทำลายพืช โดยการผลิตเส้นใยใช้เป็นที่อยู่อาศัย หลบหลีกศัตรู ใช้เป็นที่ยึดเกาะ ช่วยในการเคลื่อนย้ายหรือแพร่กระจาย ช่วยในการหาคู่ ปกป้องไข่จากตัวห้ำ ป้องกันภัยให้ลูกอ่อน และรักษาความชื้นใต้ใย ส่งผลให้ไรแมงมุมเกิดการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและกลายเป็นศัตรูที่สำคัญของพืช
จัดทำโดย นางสาววีนัส เส็นสะเห นางสาววีนัส เส็นสะเห อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.ดร.จิราพร เพชรรัตน์ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 โทร. 074-286101-2