แนวคิดใหม่ ๆ ในการทำให้ รถจักรยานยนต์ปลอดอุบัติเหตุ กรมการขนส่งทางบก
สถิติรถจักรยานยนต์จดทะเบียน และอุบัติเหตุ รถจักรยานยนต์ พ. ศ สถิติรถจักรยานยนต์จดทะเบียน และอุบัติเหตุ รถจักรยานยนต์ พ.ศ. 2544 - 2548 รายการ 2544 2545 2546 2547 2548 จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนทั่วประเทศ (คัน) (ที่มา : กรมการขนส่งทางบก) 15,236,081 16,581,174 18,210,454 13,206,580 15,501,035 จำนวนรถจักรยานยนต์ที่เกิดอุบัติเหตุ (คัน) (ที่มา : สำนักงานตำรวจแห่งชาติ) 41,215 53,732 66,110 77,642 78,830 จะสังเกตเห็นว่าในปี 2547 จำนวนรถจยย. ที่จดทะเบียนรวมทั่วประเทศลดลงเนื่องจาก ขบ.ทำการ ทบทวนการจดทะเบียนรถทั้งหมดใหม่ โดยให้รถที่ขาดการต่ออายุทะเบียนมาดำเนินการขอต่ออายุถ้าขาดอายุเกิน 3 ปีแต่มาในกำหนดเวลาจะเสียภาษีที่ค้างเพียงแค่ 3 ปี แต่ถ้าไม่มาติดต่อในเวลาที่กำหนดก็จะยกเลิกการจดทะเบียน
อัตราการเสียชีวิตและบาดเจ็บ จากอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ พ.ศ. 2545 แหล่งที่มา : จาก 21 โรงพยาบาลเครือข่ายเฝ้าระวังการบาดเจ็บของกระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้บาดเจ็บ 48,723 คน คิดเป็นร้อยละ 81 เป็นข้อมูลของ สธ.แสดงให้เห็นตัวเลขที่เก็บข้อมูลเพียง แค่ 21 รพ. จำนวนผู้เสียชีวิต 3,517 คน คิดเป็นร้อยละ 81 เช่นกัน
สถิติอัตราการเกิดอุบัติเหตุของรถแต่ละประเภท ช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ. ศ สถิติอัตราการเกิดอุบัติเหตุของรถแต่ละประเภท ช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2548 - 2549 ประเภทรถ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 รถจักรยานยนต์ 84.23 84.72 รถปิคอัพ 7.89 7.75 รถยนต์เก๋ง 2.27 2.12 รถบรรทุก 6 ล้อขึ้นไป 0.84 0.82 อื่น ๆ 4.77 4.59 เป็นตัวเลขทั่วประเทศในช่วงสงกรานต์ 2548และ 2549 จะเห็นว่าตัวเลขก็สอดคล้องกับเมื่อสักครู่ ที่มา : กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวทางการดำเนินงานในปัจจุบัน ของกรมการขนส่งทางบก
1. ออกกฎหมายให้มีการรับรองโรงเรียนสอนขับรถเอกชน 1. ออกกฎหมายให้มีการรับรองโรงเรียนสอนขับรถเอกชน ในอนาคต ผู้ขอรับใบอนุญาตขับรถทุกประเภทต้องผ่านการเรียนการสอน และการทดสอบขับรถจากโรงเรียนสอนขับรถเอกชน หลักสูตรการขับรถยนต์และรถจยย. ไม่น้อยกว่า 15 ชม. ประกอบด้วยทฤษฏีไม่น้อยกว่า 5 ชม. ปฏิบัติไม่น้อยกว่า 10 ชม. มีสนามฝึกตามมาตรฐานที่ ขบ.กำหนด ครูฝึกที่ได้ใบอนุญาต ค่าเล่าเรียนขั้นต่ำ รถยนต์ 2000 บ. จยย. 500 บ.รถขนส่ง 4000 บ.มีใบขับขี่รถยนต์แล้ว 2500 บ.
2. ออกกฎหมายกำหนดให้รถจักรยานยนต์เปิดไฟหน้า 2. ออกกฎหมายกำหนดให้รถจักรยานยนต์เปิดไฟหน้า อัตโนมัติ เมื่อสตาร์ทเครื่องยนต์ กฎกระทรวงฉบับที่ 41 (พ.ศ. 2547) ออกตามความใน พ.ร.บ. รถยนต์ พ.ศ. 2522 กำหนดให้รถจักรยานยนต์ที่นำมาจดทะเบียนต้องมีระบบสตาร์ทพร้อมสวิทที่เมื่อเครื่องกำเนิดพลังงานทำงาน โคมไฟแสงพุ่งไกลหรือโคมไฟแสงพุ่งต่ำต้องให้แสงสว่างพร้อมกัน เริ่มแรกโครงการเปิดไฟหน้าจยย.เป็นรณรงค์ขอความร่วมมือ แต่การออกกฎกระทรวงดังกล่าวเป็นการกำหนดให้ดำเนินการมาตั้งแต่โรงงานผลิต รถจยย. มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2548 เป็นต้นไป
ผลการศึกษารถจักรยานยนต์เปิดไฟหน้าเพื่อลดอุบัติเหตุ ในต่างประเทศ สวีเดน อุบัติเหตุลดลง 10% ฟินแลนด์ อุบัติเหตุลดลง 28% มาเลเซีย อุบัติเหตุลดลง 29% เป็นผลการศึกษาของต่างประเทศ ญี่ปุ่น อุบัติเหตุลดลง 40%
3. จัดระเบียบรถจักรยานยนต์รับจ้าง 3. จัดระเบียบรถจักรยานยนต์รับจ้าง 3.1 คุณสมบัติของผู้ขับรถจักรยานยนต์สาธารณะ 3.2 ลักษณะของรถจักรยานยนต์สาธารณะ จัดให้มีหมวกให้คนโดยสารและรักษาความสะอาดไว้เสมอ ให้คนโดยสารนั่งให้เรียบร้อยก่อนออกรถ ไม่บรรทุกสิ่งของอื่นไปกับคนโดยสาร ไม่ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ รถต้องมีที่พักเท้า ฝาครอบโซ่ ราวยึดเหนี่ยว แผ่นป้องกันความร้อนท่อไอเสีย ต้องผ่านการอบรม 3 ชม.
การรณรงค์รถจักรยานยนต์ขับขี่ปลอดภัย เปิดไฟ ใส่หมวก การรณรงค์เปิดไฟใส่หมวกขบเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2545 ซึ่งต้องยกเครดิตให้ท่าน นิกร จำนง ซึ่งเป็นรชค.ในสมัยนั้น ที่นำเอาแนวคิดนี้มารณรงค์อย่างจริงจัง จนแพร่ถึงบัดนี้ กรมการขนส่งทางบกเริ่มรณรงค์ฯ ตั้งแต่ปี2545 ต่อมา กระทรวงมหาดไทยได้กำหนดให้ทุกจังหวัดดำเนินการพร้อมกันทั่วประเทศในปี 2547
5. โครงการสนามจราจรเยาวชนเสริมสร้างจิตสำนึกความปลอดภัย 5. โครงการสนามจราจรเยาวชนเสริมสร้างจิตสำนึกความปลอดภัย เป็นการให้ความรู้พื้นฐานเพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้เยาวชน ในระดับ ป4 – 6 ดำเนินการเรื่อยมายาวนานเท่าที่จะมีงบประมาณแต่ ในปี 2549 ดำเนินการให้ครบ 190 สำนักงาน อบรมนักเรียนให้ได้ 57000 คน ดีเดย์ 1 กค.2549
6. โครงการลดอุบัติเหตุทางถนนจากการขับขี่ รถจักรยานยนต์อย่างไม่รู้กฎ 6. โครงการลดอุบัติเหตุทางถนนจากการขับขี่ รถจักรยานยนต์อย่างไม่รู้กฎ เป็นกิจกรรมเสริมที่ให้เจ้าหน้าที่ออกไปรณรงค์อบรมให้ความรู้การขับขี่จยย.ที่ถูกต้องปลอดภัยกับปชช. โดยสนับสนุนค่าใช้จ่ายจากกองทุนฯ
แนวคิดในการพัฒนาความปลอดภัย ของรถจักรยานยนต์ โครงการจัดตั้งระบบการรับรองแบบรถ (Motor Vehicle Type Approval) กำหนดให้รถจักรยานยนต์มีอุปกรณ์ป้องกัน เพื่อเพิ่มความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บ เช่น Leg Guard, กำหนดให้หมวกนิรภัยเป็นอุปกรณ์ส่วนควบที่สำคัญอย่างหนึ่งของรถจักรยานยนต์
พัฒนาการให้บริการระบบขนส่งมวลชนให้ทั่วถึง และเพียงพอมากยิ่งขึ้น แนวคิดในการพัฒนาความปลอดภัยของรถจักรยานยนต์ (ต่อ) สนับสนุนให้มีการศึกษาความจำเป็นเกี่ยวกับการจัดให้มีช่องทางรถจักรยานยนต์โดยเฉพาะ พัฒนาการให้บริการระบบขนส่งมวลชนให้ทั่วถึง และเพียงพอมากยิ่งขึ้น