งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่

2 วัตถุประสงค์ : เพื่อสะท้อนสถานการณ์บาดเจ็บ
จากอุบัติเหตุการขนส่งที่รับการรักษา ในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และโรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2552 ติดตามแนวโน้มจากข้อมูลผู้ป่วยระหว่างปี

3 ข้อมูล : แหล่งที่มาข้อมูล งานเวชระเบียน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
งานเวชระเบียน โรงพยาบาลหาดใหญ่ ข้อมูลนำเสนอ ผู้ป่วยเสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน : จำนวนรายเดือน เพศ ผู้ป่วยนอก : จำนวนรายเดือน เพศ อายุ จยย. ผู้ป่วยใน : จำนวนรายเดือน เพศ อายุ จยย. หมายเหตุ : - การนำเสนอข้อมูล เน้นรถจักรยานยนต์ - ผู้ป่วยนอกคือ ผู้บาดเจ็บที่ได้รับการรักษาแล้วกลับบ้าน - ผู้ป่วยในคือ ผู้บาดเจ็บที่ต้องได้รับการรักษาต่อเป็นผู้ป่วยของโรงพยาบาล

4 จำนวน (ข้อมูลดิบ) สัดส่วน (%) วิธีเสนอ :
หมายเหตุ : สัดส่วน(%) คือ ร้อยละของจำนวนอุบัติการณ์แต่ละเดือน/จำนวนอุบัติการณ์เฉลี่ยต่อเดือนของปีเดียวกัน เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลของแต่ละเดือนระหว่างปี

5 เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 14 คน ชาย 9 อายุ ปี อายุเฉลี่ย 37 ปี ค่ามัธยฐาน(median) = 39 หญิง 4 อายุ ปี อายุเฉลี่ย 40 ปี ค่ามัธยฐาน(median) = 45

6 เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อมูล : ชาย 9 จากรถจยย. 4 หญิง 4 จากรถจยย. 3

7 ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 3,188 ราย เฉลี่ย = 266 ราย/เดือน ชาย = 55% (1,742/3,188) จยย. = 84% ของทั้งหมด (2,665/3,188) จยย.ชาย = 54% ของจยย.ทั้งหมด (1,434/2,665) อายุ <35 ปี = 74% (2,351/3,188)

8 ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น: ชาย = 55% (1,742/3,188) ความแตกต่างไม่เด่นชัดระหว่างชาย หญิง ข้อมูล : เดือนธันวาคม มีผู้ป่วยสูงสุด

9 ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 84% ของผู้ป่วยรวม (2,665/3,188) จยย.ชาย = 54% ของจยย.ทั้งหมด (1,434/2,665)

10 ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : 6 ใน 10 ราย เป็นผู้ป่วยเด็กและเยาวชนอายุต่ำกว่า 25 ปี หมายเหตุ : % = จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

11 ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 751 ราย เฉลี่ย = 63 ราย/เดือน ชาย = 71% (535/751) จยย. = 73% ของทั้งหมด (546/751) จยย.ชาย = 74% ของจยย.ทั้งหมด (402/546) อายุ <35 ปี = 63% (472/751) อายุ >45 ปี = 25% (188/751)

12 ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : ชาย = 71% (537/751) สูงกว่าหญิง 2.5 เท่า

13 ผู้ป่วยใน : จยย.ทั้งหมด/จยย.ชาย ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยใน : จยย.ทั้งหมด/จยย.ชาย ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 73 % ของผู้ป่วยรวม (546/751) จยย.ชาย = 74% ของจยย.ทั้งหมด (402/546)

14 ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : 1 ใน 4 ของผู้ป่วย อายุ > 45 ปี หมายเหตุ : % = จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

15 ผู้ป่วยทั้งหมด : เปรียบเทียบสัดส่วนเฉลี่ยรายเดือนของ ปี 2548-2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ปี ,860 ราย เฉลี่ย = 322 ราย/เดือน ปี ,078 ราย เฉลี่ย = 340 ราย/เดือน ปี ,798 ราย เฉลี่ย = 317 ราย/เดือน ปี ,981 ราย เฉลี่ย = 332 ราย/เดือน ปี ,939 ราย เฉลี่ย = 328 ราย/เดือน

16 ผู้ป่วยทั้งหมด : เปรียบเทียบสัดส่วนเฉลี่ยรายเดือนของปี 2548-2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
%ของค่าเฉลี่ยต่อเดือน ข้อคิดเห็น : ข้อมูล 5 ปีย้อนหลัง พบว่า เดือนม.ค. ก.ค. และส.ค. มีสัดส่วนสูงกว่าเดือนอื่น ๆ หมายเหตุ : % = ค่าเฉลี่ยผู้ป่วยรายเดือนของปี /ค่าเฉลี่ยต่อเดือนของปี

17 เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : ชาย 9 คน หญิง 6 คน

18 ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ 5,281 ราย เฉลี่ย = 440 ราย/เดือน ชาย = 57% (3,002/5,281) จยย. = 83% ของทั้งหมด (4,400/5,281) จยย.ชาย = 57% ของจยย.ทั้งหมด (2,523/4,400) อายุ <35 ปี 76% (3,962/5,281)

19 ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : เดือนกรกฎาคม มีผู้ป่วยสูงสุด

20 ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 83 % ของผู้ป่วยรวม (4,400/5,281) จยย.ชาย = 57% ของจยย.ทั้งหมด (2,523/4,400)

21 ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : 7-8 ใน 10 ราย อายุ < 35 ปี หมายเหตุ : % = จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

22 ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ 2,678 ราย เฉลี่ย = 223 ราย/เดือน ชาย = 69% (1,858/2,678) จยย. = 80% ของทั้งหมด (2,153/2,678) จยย.ชาย = 69% ของจยย.ทั้งหมด (1,490/2,153) อายุ <35 ปี 64% (1,721/2,678)

23 ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : ชาย = 69% (1,858/2,6178) สูงกว่าหญิง 2 เท่า

24 ผู้ป่วยใน : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยใน : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 80 % ของผู้ป่วยรวม (2,153/2,678) จยย.ชาย = 69% ของจยย.ทั้งหมด (1,490/2,153)

25 ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : 43% ของผู้ป่วยเป็นเด็กและเยาวชนอายุ < 25 ปี หมายเหตุ : % = จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

26 เปรียบเทียบผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551-2552 : รายเดือน โรงพยาบาลหาดใหญ่
เปรียบเทียบผู้ป่วยทั้งหมด ปี : รายเดือน โรงพยาบาลหาดใหญ่ %ของค่าเฉลี่ยต่อเดือน ข้อคิดเห็น : เดือนพ.ย. มีสัดส่วนผู้ป่วยต่ำกว่าเดือนอื่น ๆ หมายเหตุ : % = จำนวนผู้ป่วยรายเดือน/ค่าเฉลี่ยต่อเดือนของปีเดียวกัน

27 สรุป กลุ่มเสี่ยง : เพศชาย
7 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บต้องรับไว้รักษาต่อในโรงพยาบาล เป็นชาย กลุ่มเสี่ยง : รถจักรยานยนต์ 8 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บ มาจากรถจักรยานยนต์ กลุ่มเสี่ยง : อายุ < 35 ปี 7 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บ อายุต่ำกว่า 35 ปี 5 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บ อายุต่ำกว่า 25 ปี กลุ่มเสี่ยง : อายุ >45 ปี 1 ใน 4 ราย ของผู้บาดเจ็บที่ต้องรับไว้รักษาต่อในโรงพยาบาล อายุมากกว่า 45 ปี

28 ข้อเสนอแนะ มาตรการลดความเสี่ยงรถจักรยานยนต์
จัดแบ่งช่องทางสำหรับรถจักรยานยนต์ รณรงค์ความปลอดภัยการใช้รถจักรยานยนต์ เช่น เปิดไฟหน้ารถ ไม่วางสิ่งของในตระกร้าหน้ารถ สวมหมวกกันน็อค ตรวจสอบสภาพรถ เช่น ไฟสัญญาณ ฯลฯ มาตรการเพิ่มความปลอดภัยรถจักรยานยนต์ ส่งเสริมการฝึกทักษะขับขี่ที่ถูกต้อง


ดาวน์โหลด ppt รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google