รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
Advertisements

การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
คณะทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รายละเอียดข้อมูลทั่วไป
วันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม 2549
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2551 สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
ชื่อตัวบ่งชี้ 1.3 : เงินเดือนเริ่มต้นของบัณฑิต ( ปริญญาตรี ) 1. จุดอ่อน 1. คณะฯยังไม่มีการจัดทำฐานข้อมูลเงินเดือนของ บัณฑิต 2. คณะฯยังขาดหลักคิดที่สมบูรณ์ในการเทียบ.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผลการตรวจสอบและประเมินระบบ การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในคณะเทคนิคการแพทย์ วันที่ 5 เมษายน 2555.

1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การตรวจสอบและประเมินระบบการ ประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ กรกฎาคม 2550 โดยคณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินระบบ การประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน.
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
การศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
CMU: UNIVERSITY OF EXCELLENCE
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะกรรมการประกันคุณภาพฯ วจ.
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
งานกิจการนิสิต
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
SELF-ASSESSMENT REPORT Department of Medicine. SAR Plan-Do-Follow-Evaluate-Improve.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ ภาควิชาพัฒนาการเกษตร รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มิถุนายน 2552

ภ า ค วิ ช า พั ฒ น า ก า ร เ ก ษ ต ร ภ า ค วิ ช า พั ฒ น า ก า ร เ ก ษ ต ร บุคลากร อาจารย์ 8 คน ข้าราชการ-พนักงาน-ลูกจ้าง 4 คน นักศึกษา ปริญญาตรี 96 คน ปริญญาโท (ภาคปกติ 36 คน ภาคพิเศษ 25 คน)

ตารางสรุปคะแนนแต่ละองค์ประกอบ น้ำหนัก ปี 2550 ปี 2551 ผลการประเมิน 1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินการ 20 4.22 4.33 ดี 2. การเรียนการสอนและ คุณภาพบัณฑิต 50 3.90 3.60 3. กิจกรรมการพัฒนานิสิต นักศึกษา 3.34 4.25 4. การวิจัย 3.14 3.22 5. การบริการวิชาการแก่ สังคม 5.00 ดีมาก 6. การทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม 10 7. การบริหารจัดการ 3.96 4.00

ตารางสรุปคะแนนแต่ละองค์ประกอบ (ต่อ) ตารางสรุปคะแนนแต่ละองค์ประกอบ (ต่อ) น้ำหนัก ปี 2550 ปี 2551 ผลการประเมิน 8. การเงินและงบประมาณ 20 5.00 ดีมาก 9. ระบบกลไกการประกันคุณภาพ 4.34 ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 9 องค์ประกอบ 230 4.08 4.05 ดี 10. ความสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยกับสังคมและชุมชนภาคใต้ 10 2.50 3.00 พอใช้ 11. วิเทศสัมพันธ์ - ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 11 องค์ประกอบ 250 ผลการประเมินระดับภาควิชา 3.86 3.85

การเรียน การสอน และคุณภาพบัณฑิต องค์ประกอบที่ 2 การเรียน การสอน และคุณภาพบัณฑิต ภาควิชาพัฒนาการเกษตร

การเรียน การสอน และคุณภาพบัณฑิต องค์ประกอบที่ 2 การเรียน การสอน และคุณภาพบัณฑิต 1) นักศึกษาที่เลือกเรียนสาขาพัฒนาการเกษตร มีผลการเรียนค่อนข้างต่ำ เกรดเฉลี่ยน้อยกว่า 2.00 จำนวนมาก 2) การเกษียณอายุราชการของอาจารย์ในภาควิชาฯ ซึ่งเริ่มมีการเกษียณของอาจารย์ประจำบ้างแล้ว การรับอาจารย์ใหม่มาทดแทนอาจส่งผลต่อการเรียนการสอนในอนาคต เนื่องจากอาจารย์ใหม่ประสบการณ์ในด้านการสอนยังน้อย รวมทั้งประสบการณ์ด้านการวิจัยด้วย 3) การได้งานทำของบัณฑิตในสาขาวิชา มักจะไม่ตรงกับสาขาที่สำเร็จการศึกษา แต่บัณฑิตส่วนใหญ่จะสามารถนำความรู้ ความสามารถที่มีอยู่ไป ปรับใช้กับงานที่ได้รับ 4) นักศึกษาของภาควิชาฯ จะมีทักษะด้านภาษาอังกฤษ การบริหารจัดการ การวางแผน การใช้ภาษา ค่อนข้างอ่อน จุดอ่อน 1) อาจารย์ส่วนใหญ่ของภาควิชาฯ มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก และอาจารย์ทุกคนในภาควิชาฯ มีตำแหน่งทางวิชาการ ซึ่งทำให้เป็นบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ในการสอนและวิจัย 2) อาจารย์ของภาควิชาฯ ส่วนใหญ่มีความสามารถที่จะหาแหล่งทุนสำหรับโครงการวิจัยได้อย่างต่อเนื่อง จุดแข็ง

กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา ภาควิชาพัฒนาการเกษตร

กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา นักศึกษายังเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ค่อนข้างน้อย เนื่องจากเห็นว่าการ เข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมกิจกรรมนั้นไม่มีผลต่อผลการเรียน ไม่มีการประเมิน ผลโดยระดับคะแนนเหมือนกับการเรียนในหลักสูตร แม้ว่ากิจกรรมต่าง ๆ จะให้ส่งผลในด้านการพัฒนาบุคลิกภาพและสร้างเสริมประสบการณ์ให้กับนักศึกษาเองก็ตาม จุดอ่อน ภาควิชาฯ มีการสนับสนุนให้นักศึกษาที่สังกัดภาควิชาฯ มีการทำกิจกรรมต่าง ๆ อยู่เสมอ ในหลากหลายรูปแบบ หลากหลายประเภท โดยมีอาจารย์ในภาคฯ เป็นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำในการดำเนินงาน เป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น ส่งผลให้จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมมากขึ้นด้วย จุดแข็ง

องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ภาควิชาพัฒนาการเกษตร

องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย จุดอ่อน จุดแข็ง 1) ภาควิชาฯ ยังมีการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยค่อนข้างน้อย ทำให้การ ได้รับการอ้างอิงใน Refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติน้อยไปด้วย 2) คณาจารย์ในภาควิชาฯ จะมีงานด้านการบริการวิชาการค่อนข้างมาก ทำให้งานวิจัยเกิดขึ้นได้ไม่มากนัก จุดอ่อน 1) ภาควิชาฯ มีอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ซึ่งแสดงถึงความมีประสบการณ์ของอาจารย์ทางด้านงานวิจัย 2) อาจารย์ของภาควิชาฯ มีศักยภาพในการหาทุนวิจัยทั้งจากภายในและภายนอกสถาบัน และงานบริการวิชาการในลักษณะให้บริการวิชาการและเป็นที่ปรึกษาโครงการให้กับหน่วยงานภายนอก จุดแข็ง

การบริการวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม ภาควิชาพัฒนาการเกษตร

การบริการวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม 1) การประเมินผลโครงการบริการวิชาการของภาควิชาฯ ยังทำได้ไม่ครอบคลุมทุกโครงการ 2) ขาดการบันทึกองค์ความรู้หรือสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อภาควิชาฯ และนักศึกษา จุดอ่อน 1) คณาจารย์ในภาควิชาฯ มีความสามารถหาแหล่งเงินทุนหรือโครงการบริการวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2) การได้รับเชิญให้เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ให้กับสถาบันอื่น หรือการเป็นที่ปรึกษา คณะทำงาน คณะกรรมการต่าง ๆ เป็นการเพิ่มพูนความรู้ ความชำนาญ แก่คณาจารย์ของภาควิชาฯ ให้มากขึ้น จุดแข็ง

การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ภาควิชาพัฒนาการเกษตร

การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 1) การเข้าร่วมกิจกรรมของบุคลากรและนักศึกษา ยังมีจำนวน ผู้เข้าร่วมไม่มากนัก จุดอ่อน 1) การจัดกิจกรรมด้านการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรม มีการจัดอย่างต่อเนื่องจากคณะฯ ทำให้บุคลากรและนักศึกษายังสามารถเข้าร่วมได้อย่างสม่ำเสมอ 2) ภาควิชาฯ มีการสนับสนุนให้นักศึกษาจัดกิจกรรมหรือโครงการที่เป็นการส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรม อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการพัฒนาทักษะให้แก่นักศึกษา จุดแข็ง

ความสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย กับสังคมในชุมชนภาคใต้ องค์ประกอบที่ 10 ความสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย กับสังคมในชุมชนภาคใต้ ภาควิชาพัฒนาการเกษตร

ความสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย กับสังคมในชุมชนภาคใต้ องค์ประกอบที่ 10 ความสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย กับสังคมในชุมชนภาคใต้ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการพิเศษทางการศึกษายังมีจำนวนน้อย โครงการรักเกษตร, โครงการเรียนดี) แสดงให้เห็นว่านักเรียนมี ทางเลือกในการศึกษามากขึ้น จากระบบทางการศึกษาในปัจจุบัน จุดอ่อน คณะฯ และมหาวิทยาลัย มีโครงการพิเศษทางการศึกษาสำหรับนักเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต้ ทำให้นักเรียนมีโอกาสและทางเลือกในการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยมากขึ้น จุดแข็ง

ขอขอบคุณ ภาควิชาพัฒนาการเกษตร