รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ ภาควิชาพัฒนาการเกษตร รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มิถุนายน 2552
ภ า ค วิ ช า พั ฒ น า ก า ร เ ก ษ ต ร ภ า ค วิ ช า พั ฒ น า ก า ร เ ก ษ ต ร บุคลากร อาจารย์ 8 คน ข้าราชการ-พนักงาน-ลูกจ้าง 4 คน นักศึกษา ปริญญาตรี 96 คน ปริญญาโท (ภาคปกติ 36 คน ภาคพิเศษ 25 คน)
ตารางสรุปคะแนนแต่ละองค์ประกอบ น้ำหนัก ปี 2550 ปี 2551 ผลการประเมิน 1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินการ 20 4.22 4.33 ดี 2. การเรียนการสอนและ คุณภาพบัณฑิต 50 3.90 3.60 3. กิจกรรมการพัฒนานิสิต นักศึกษา 3.34 4.25 4. การวิจัย 3.14 3.22 5. การบริการวิชาการแก่ สังคม 5.00 ดีมาก 6. การทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม 10 7. การบริหารจัดการ 3.96 4.00
ตารางสรุปคะแนนแต่ละองค์ประกอบ (ต่อ) ตารางสรุปคะแนนแต่ละองค์ประกอบ (ต่อ) น้ำหนัก ปี 2550 ปี 2551 ผลการประเมิน 8. การเงินและงบประมาณ 20 5.00 ดีมาก 9. ระบบกลไกการประกันคุณภาพ 4.34 ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 9 องค์ประกอบ 230 4.08 4.05 ดี 10. ความสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยกับสังคมและชุมชนภาคใต้ 10 2.50 3.00 พอใช้ 11. วิเทศสัมพันธ์ - ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 11 องค์ประกอบ 250 ผลการประเมินระดับภาควิชา 3.86 3.85
การเรียน การสอน และคุณภาพบัณฑิต องค์ประกอบที่ 2 การเรียน การสอน และคุณภาพบัณฑิต ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
การเรียน การสอน และคุณภาพบัณฑิต องค์ประกอบที่ 2 การเรียน การสอน และคุณภาพบัณฑิต 1) นักศึกษาที่เลือกเรียนสาขาพัฒนาการเกษตร มีผลการเรียนค่อนข้างต่ำ เกรดเฉลี่ยน้อยกว่า 2.00 จำนวนมาก 2) การเกษียณอายุราชการของอาจารย์ในภาควิชาฯ ซึ่งเริ่มมีการเกษียณของอาจารย์ประจำบ้างแล้ว การรับอาจารย์ใหม่มาทดแทนอาจส่งผลต่อการเรียนการสอนในอนาคต เนื่องจากอาจารย์ใหม่ประสบการณ์ในด้านการสอนยังน้อย รวมทั้งประสบการณ์ด้านการวิจัยด้วย 3) การได้งานทำของบัณฑิตในสาขาวิชา มักจะไม่ตรงกับสาขาที่สำเร็จการศึกษา แต่บัณฑิตส่วนใหญ่จะสามารถนำความรู้ ความสามารถที่มีอยู่ไป ปรับใช้กับงานที่ได้รับ 4) นักศึกษาของภาควิชาฯ จะมีทักษะด้านภาษาอังกฤษ การบริหารจัดการ การวางแผน การใช้ภาษา ค่อนข้างอ่อน จุดอ่อน 1) อาจารย์ส่วนใหญ่ของภาควิชาฯ มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก และอาจารย์ทุกคนในภาควิชาฯ มีตำแหน่งทางวิชาการ ซึ่งทำให้เป็นบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ในการสอนและวิจัย 2) อาจารย์ของภาควิชาฯ ส่วนใหญ่มีความสามารถที่จะหาแหล่งทุนสำหรับโครงการวิจัยได้อย่างต่อเนื่อง จุดแข็ง
กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา นักศึกษายังเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ค่อนข้างน้อย เนื่องจากเห็นว่าการ เข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมกิจกรรมนั้นไม่มีผลต่อผลการเรียน ไม่มีการประเมิน ผลโดยระดับคะแนนเหมือนกับการเรียนในหลักสูตร แม้ว่ากิจกรรมต่าง ๆ จะให้ส่งผลในด้านการพัฒนาบุคลิกภาพและสร้างเสริมประสบการณ์ให้กับนักศึกษาเองก็ตาม จุดอ่อน ภาควิชาฯ มีการสนับสนุนให้นักศึกษาที่สังกัดภาควิชาฯ มีการทำกิจกรรมต่าง ๆ อยู่เสมอ ในหลากหลายรูปแบบ หลากหลายประเภท โดยมีอาจารย์ในภาคฯ เป็นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำในการดำเนินงาน เป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น ส่งผลให้จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมมากขึ้นด้วย จุดแข็ง
องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย จุดอ่อน จุดแข็ง 1) ภาควิชาฯ ยังมีการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยค่อนข้างน้อย ทำให้การ ได้รับการอ้างอิงใน Refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติน้อยไปด้วย 2) คณาจารย์ในภาควิชาฯ จะมีงานด้านการบริการวิชาการค่อนข้างมาก ทำให้งานวิจัยเกิดขึ้นได้ไม่มากนัก จุดอ่อน 1) ภาควิชาฯ มีอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ซึ่งแสดงถึงความมีประสบการณ์ของอาจารย์ทางด้านงานวิจัย 2) อาจารย์ของภาควิชาฯ มีศักยภาพในการหาทุนวิจัยทั้งจากภายในและภายนอกสถาบัน และงานบริการวิชาการในลักษณะให้บริการวิชาการและเป็นที่ปรึกษาโครงการให้กับหน่วยงานภายนอก จุดแข็ง
การบริการวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
การบริการวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม 1) การประเมินผลโครงการบริการวิชาการของภาควิชาฯ ยังทำได้ไม่ครอบคลุมทุกโครงการ 2) ขาดการบันทึกองค์ความรู้หรือสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อภาควิชาฯ และนักศึกษา จุดอ่อน 1) คณาจารย์ในภาควิชาฯ มีความสามารถหาแหล่งเงินทุนหรือโครงการบริการวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2) การได้รับเชิญให้เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ให้กับสถาบันอื่น หรือการเป็นที่ปรึกษา คณะทำงาน คณะกรรมการต่าง ๆ เป็นการเพิ่มพูนความรู้ ความชำนาญ แก่คณาจารย์ของภาควิชาฯ ให้มากขึ้น จุดแข็ง
การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 1) การเข้าร่วมกิจกรรมของบุคลากรและนักศึกษา ยังมีจำนวน ผู้เข้าร่วมไม่มากนัก จุดอ่อน 1) การจัดกิจกรรมด้านการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรม มีการจัดอย่างต่อเนื่องจากคณะฯ ทำให้บุคลากรและนักศึกษายังสามารถเข้าร่วมได้อย่างสม่ำเสมอ 2) ภาควิชาฯ มีการสนับสนุนให้นักศึกษาจัดกิจกรรมหรือโครงการที่เป็นการส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรม อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการพัฒนาทักษะให้แก่นักศึกษา จุดแข็ง
ความสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย กับสังคมในชุมชนภาคใต้ องค์ประกอบที่ 10 ความสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย กับสังคมในชุมชนภาคใต้ ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
ความสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย กับสังคมในชุมชนภาคใต้ องค์ประกอบที่ 10 ความสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย กับสังคมในชุมชนภาคใต้ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการพิเศษทางการศึกษายังมีจำนวนน้อย โครงการรักเกษตร, โครงการเรียนดี) แสดงให้เห็นว่านักเรียนมี ทางเลือกในการศึกษามากขึ้น จากระบบทางการศึกษาในปัจจุบัน จุดอ่อน คณะฯ และมหาวิทยาลัย มีโครงการพิเศษทางการศึกษาสำหรับนักเรียนใน 14 จังหวัดภาคใต้ ทำให้นักเรียนมีโอกาสและทางเลือกในการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยมากขึ้น จุดแข็ง
ขอขอบคุณ ภาควิชาพัฒนาการเกษตร