รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรช่างอุตฯ1 ดร.เมธี ธรรมวัฒนา
1 ไทเลอร์ (Tyler) 2 เซเลอร์ แอนด์ อเล็กซานเดอร์ (Saylor & Alexander ) 3 ทาบา (Taba) 4 สกิลเบค (Skillbeck) 5 อาจารย์สงัด อุทรานันท์ 6 รศ.ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ 7 ให้นิสิตสรุปหลักสูตร อศ. 2546 ระดับ ปวช. 8 ให้นิสิตสรุปหลักสูตร อศ. 2546 ระดับ ปวส.
1. จุดมุ่งหมายของโรงเรียนคืออะไร Tyler 1949 มุ่งเน้นการตอบคำถามใน 4 ข้อ คือ 1. จุดมุ่งหมายของโรงเรียนคืออะไร 2. การจะบรรลุจุดมุ่งหมายต้องอาศัยประสบการณ์การศึกษาอะไร 3. ประสบการณ์การศึกษานั้นจัดอย่างไร 4. จุดมุ่งหมายนั้นมีการประเมินอย่างไร
Ralph W. Tyler 1949 ผู้เรียน ทฤษฎีการเรียนรู้ เป้าหมายกว้าง สังคม ปรัชญาการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญ จุดมุ่งหมาย Ralph W. Tyler 1949 ประสบ การณ์เรียนรู้ ประเมินผล
Hilda Taba(1962) วิเคราะห์ความต้องการ ของผู้เรียน และสังคม การกำหนดจุดมุ่งหมาย เลือกเนื้อหาสาระ จัดและรวบรวม Hilda Taba(1962) จัดประสบการณ์เรียนรู้ เลือกประสบการณ์ ประเมินผลเพื่อตรวจสอบ
ข้อคิดในการพัฒนาหลักสูตร ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบต่างๆ - ผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน - ความต้องการสังคมแง่ผู้ใช้ผลผลิต - ความก้าวหน้าทางวิชาการ 2. การดำเนินการต้องครบ 5 ขั้นตอน - การกำหนดจุดมุ่งหมาย - การเลือกเนื้อหาวิชา และประสบการณ์ - การนำหลักสูตรไปใช้ - การประเมินผลหลักสูตร - การปรับปรุงหลักสูตร
ข้อคิดในการพัฒนาหลักสูตร 3. หลักสูตรที่ดีต้อง - มีการบริหารหลักสูตร - การจัดแผนการเรียนการสอน - วิธีสอนและคุณสมบัติผู้สอน - สถานที่ สื่อ - หนังสือ ตำราเรียน 4. การประชุมสัมมนาผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของอุดมศึกษา 1 วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน /จัดประชุม สัมมนา 2 กำหนดจุดมุ่งหมายหลักสูตร (โดยคณะ กก.) 3 ศึกษาหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง กำหนดเนื้อหาสาระ และประสบการณ์ (ได้ร่าง) 4 นำเสนอผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาร่างหลักสูตร และปรับแก้ 5 นำเสนอ กก. ประจำคณะ และปรับแก้ไข 6 นำเสนอที่ประชุมบริหารวิชาการ ม.บูรพา 7 นำเสนอที่ประชุมสภา ม.บูรพา 8 นำส่ง สกอ. 9 นำหลักสูตรไปใช้ และปรับย่อย (รายวิชา) 10. ประเมินผล 1 ครั้ง ทุก 4-5 ปี