ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
โดย: นายทรงพล ทาเจริญ นักวิชาการเกษตร 7ว กลุ่มส่งเสริมการผลิตไม้ผล
การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
แผนและผล การปฏิบัติงาน ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
โครงการลดภาระหนี้ให้แก่เกษตรกรรายย่อย ตามนโยบายของรัฐบาลผ่านระบบสถาบันเกษตรกร จังหวัดสมุทรสงคราม.
ผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 2555 ฎีกา 1 –64 31 มกราคม 2555
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน ที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพล
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
การจัดทำงบการเงินประจำปี ประกอบด้วย.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตายประเทศไทย
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
วาระที่ 4.1 การเบิกจ่ายงบประมาณกันเหลื่อมปี วาระที่ 4.1 การเบิกจ่ายงบประมาณกันเหลื่อมปี
ประชุมผู้บริหารกรม ทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 4/2550 วันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2550 เวลา น.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ข้อมูลผลผลิตของสบู่ดำ
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ส่งสัญญาณ ผิดปกติ อุตสาหกรรมเส้นด้ายจากฝ้าย ส่งสัญญาณ ผิดปกติ ภาวะอุตสาหกรรมผ้าผืนอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม ส่งสัญญาณ ผิดปกติ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
โครงการ จัดระบบสินค้าเกษตรในระดับพื้นที่
แนวทางการมีส่วนร่วมของกรมฯ การปฏิบัติของจังหวัด
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
แนวทางการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี โดย สำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
โครงการศึกษาเศรษฐกิจ การผลิตและการตลาดไหมไทย
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
การรวมธุรกิจ.
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ภาวะเศรษฐกิจการค้า จังหวัดสุราษฎร์ธานี มกราคม – เมษายน 2551
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม) ปริมาณมูลค่าการนำเข้า ปี 2548 2549 2550 กระเทียม (Allium sativum) สด - ปริมาณ (ตัน) 44,099 28,503 21,461 - มูลค่า (ล้านบาท) 179.50 180.71 238.03 แห้ง - ปริมาณ (ตัน) 2,242 1,527 2,203 - มูลค่า (ล้านบาท) 24.51 22.31 61,040 ที่มา:สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร นำเข้า 23,664 ตัน ส่งออกสด 346 ตัน สด - ปริมาณ (ตัน) 690 706 346 - มูลค่า (ล้านบาท) 18.39 12.34 13.11 แห้ง - ปริมาณ (ตัน) 61.06 129.5 718 - มูลค่า (ล้านบาท) 3.53 5.74 18.09 ที่มา:สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปริมาณมูลค่าการส่งออก ปี 2548 2549 2550 ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม) ปี 2548 2549 2550 ต้นทุน 15.14 16.25 16.53 ที่มา:สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ส่งออกแห้ง 718 ตัน ผลผลิตกระเทียม 96,823 ตัน บริโภคภายใน 95,759 ตัน การผลิตของประเทศไทย ปี 47/48 48/49 49/50 พื้นที่ปลูก (ไร่) 105,986 84,178 76,324 ผลผลิต (ตัน) 106,598 81,376 74,711 ที่มา:กรมส่งเสริมการเกษตร ราคากระเทียมสดที่เกษตรกรขายได้ (บาท / กิโลกรัม) ปี 2548 2549 2550 ราคา 21.96 27.50 34.60 ที่มา:สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ราคา ต้นทุน แหล่งผลิตที่สำคัญ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน พะเยา และศรีสะเกษ ผู้จัดทำ:นางสาวจิราภา จอมไธสง สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร

กระเทียม แนวทางการพัฒนา/แก้ไขปัญหาที่ได้ดำเนินการแล้ว 1.ปี2547/48(คชก)อนุมัติเงินทุนหมุนเวียนปลอดดอกเบี้ย 1.1แทรกแซงการรับซื้อกระเทียมแห้งจากเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเพาะปลูกในราคา 18 บาท/กก. 1.2ชดเชยการลดพื้นที่ปลูกกระเทียมถาวรให้แก่เกษตรกรกิโลกรัมละ 12 บาท ลดพื้นที่ปลูกได้ 15,694.77 ไร่ เกษตรกร 4,324 ราย ใช้เงินชดเชย 183.904 ล้านบาท 2.ปี2549 จัดทำโครงการปรับโครงสร้างสินค้ากระเทียม เพื่อรักษาพื้นที่ปลูกไม่เกิน 85,000 ไร่ 3.สำรวจและขึ้นทะเบียนผู้ปลูกเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการให้ความช่วยเหลือ 4.เข้มงวดการตรวจนำเข้าสินค้า 5.เข้มงวด/จับกุมการลักลอบนำเข้าสินค้า 6.อยู่ระหว่างการจัดทำมาตรฐานกระเทียม แนวทางพัฒนาในอนาคต 1.สำรวจภาวการณ์ผลิตกระเทียมก่อนและระหว่างฤดูกาลผลิต 2.เพิ่มความต้องการ(Demand) กระเทียมในตลาดเช่นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ 3.ศึกษาวิจัยคุณสมบัติของกระเทียมไทย 4.ลดต้นทุนการผลิต 5.ปรับปรุงคุณภาพผลผลิต 6.รณรงค์การบริโภคกระเทียมไทยอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลวิชาการที่สำคัญ 1.การจำแนกพันธุ์ 1.1.จำแนกตามอายุการเก็บเกี่ยว -พันธุ์เบา อายุการเก็บเกี่ยวอยู่ในช่วง 75-90 วัน -พันธุ์กลางอายุการเก็บเกี่ยวอยู่ในช่วง 100-120 วัน -พันธุ์หนัก อายุการเก็บเกี่ยว 150วัน ขึ้นไป 1.2.จำแนกตามแหล่งที่มาของพันธุ์ เช่นพันธุ์ศรีสะเกษ พันธุ์เชียงใหม่ เป็นต้น 2.กระเทียมดอ เป็นกระเทียมที่เก็บเกี่ยวก่อนอายุ ผลผลิตจะออกประมาณเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ นิยมนำมาทำเป็นกระเทียมดอง 3.กระเทียมปี เป็นกระเทียมที่เก็บเกี่ยวตามอายุ ผลผลิตจะออกสู่ตลาดประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน 4.การกระจายผลผลิต -ธันวาคม ผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.06% -มกราคม ผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.45%. -กุมภาพันธ์ ผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 30.48% -มีนาคม ผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 59.51% -เมษายน ผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 6.50% 5. การเปิดตลาดตามข้อผูกพัน WTO ปริมาณใน โควตา 65 ตัน อัตราภาษีร้อยละ 27 อัตราภาษีนอก โควตาร้อยละ 57 และตามข้อตกลง AFTA เปิด ตลาดเสรี เก็บภาษีร้อยละ 5 ปัญหา 1.ต้นทุนการผลิตสูงทำให้ ไม่สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศจีน 2.ราคากระเทียมไม่มีเสถียรภาพ เนื่องจากปริมาณผลผลิตไม่สม่ำเสมอ หากปีไหนราคาดี ปีต่อไปเกษตรกร จะเพิ่มพื้นที่ปลูก ทำให้เกิดภาวะผลผลิต กระเทียมล้นตลาด ราคาตกต่ำเกษตรกร มักเรียกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหา อยู่เป็นประจำ 3.ขาดการวิจัยและพัฒนากระเทียม อย่างต่อเนื่อง