ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม) ปริมาณมูลค่าการนำเข้า ปี 2548 2549 2550 กระเทียม (Allium sativum) สด - ปริมาณ (ตัน) 44,099 28,503 21,461 - มูลค่า (ล้านบาท) 179.50 180.71 238.03 แห้ง - ปริมาณ (ตัน) 2,242 1,527 2,203 - มูลค่า (ล้านบาท) 24.51 22.31 61,040 ที่มา:สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร นำเข้า 23,664 ตัน ส่งออกสด 346 ตัน สด - ปริมาณ (ตัน) 690 706 346 - มูลค่า (ล้านบาท) 18.39 12.34 13.11 แห้ง - ปริมาณ (ตัน) 61.06 129.5 718 - มูลค่า (ล้านบาท) 3.53 5.74 18.09 ที่มา:สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปริมาณมูลค่าการส่งออก ปี 2548 2549 2550 ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม) ปี 2548 2549 2550 ต้นทุน 15.14 16.25 16.53 ที่มา:สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ส่งออกแห้ง 718 ตัน ผลผลิตกระเทียม 96,823 ตัน บริโภคภายใน 95,759 ตัน การผลิตของประเทศไทย ปี 47/48 48/49 49/50 พื้นที่ปลูก (ไร่) 105,986 84,178 76,324 ผลผลิต (ตัน) 106,598 81,376 74,711 ที่มา:กรมส่งเสริมการเกษตร ราคากระเทียมสดที่เกษตรกรขายได้ (บาท / กิโลกรัม) ปี 2548 2549 2550 ราคา 21.96 27.50 34.60 ที่มา:สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ราคา ต้นทุน แหล่งผลิตที่สำคัญ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน พะเยา และศรีสะเกษ ผู้จัดทำ:นางสาวจิราภา จอมไธสง สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
กระเทียม แนวทางการพัฒนา/แก้ไขปัญหาที่ได้ดำเนินการแล้ว 1.ปี2547/48(คชก)อนุมัติเงินทุนหมุนเวียนปลอดดอกเบี้ย 1.1แทรกแซงการรับซื้อกระเทียมแห้งจากเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเพาะปลูกในราคา 18 บาท/กก. 1.2ชดเชยการลดพื้นที่ปลูกกระเทียมถาวรให้แก่เกษตรกรกิโลกรัมละ 12 บาท ลดพื้นที่ปลูกได้ 15,694.77 ไร่ เกษตรกร 4,324 ราย ใช้เงินชดเชย 183.904 ล้านบาท 2.ปี2549 จัดทำโครงการปรับโครงสร้างสินค้ากระเทียม เพื่อรักษาพื้นที่ปลูกไม่เกิน 85,000 ไร่ 3.สำรวจและขึ้นทะเบียนผู้ปลูกเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการให้ความช่วยเหลือ 4.เข้มงวดการตรวจนำเข้าสินค้า 5.เข้มงวด/จับกุมการลักลอบนำเข้าสินค้า 6.อยู่ระหว่างการจัดทำมาตรฐานกระเทียม แนวทางพัฒนาในอนาคต 1.สำรวจภาวการณ์ผลิตกระเทียมก่อนและระหว่างฤดูกาลผลิต 2.เพิ่มความต้องการ(Demand) กระเทียมในตลาดเช่นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ 3.ศึกษาวิจัยคุณสมบัติของกระเทียมไทย 4.ลดต้นทุนการผลิต 5.ปรับปรุงคุณภาพผลผลิต 6.รณรงค์การบริโภคกระเทียมไทยอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลวิชาการที่สำคัญ 1.การจำแนกพันธุ์ 1.1.จำแนกตามอายุการเก็บเกี่ยว -พันธุ์เบา อายุการเก็บเกี่ยวอยู่ในช่วง 75-90 วัน -พันธุ์กลางอายุการเก็บเกี่ยวอยู่ในช่วง 100-120 วัน -พันธุ์หนัก อายุการเก็บเกี่ยว 150วัน ขึ้นไป 1.2.จำแนกตามแหล่งที่มาของพันธุ์ เช่นพันธุ์ศรีสะเกษ พันธุ์เชียงใหม่ เป็นต้น 2.กระเทียมดอ เป็นกระเทียมที่เก็บเกี่ยวก่อนอายุ ผลผลิตจะออกประมาณเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ นิยมนำมาทำเป็นกระเทียมดอง 3.กระเทียมปี เป็นกระเทียมที่เก็บเกี่ยวตามอายุ ผลผลิตจะออกสู่ตลาดประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน 4.การกระจายผลผลิต -ธันวาคม ผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.06% -มกราคม ผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 3.45%. -กุมภาพันธ์ ผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 30.48% -มีนาคม ผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 59.51% -เมษายน ผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 6.50% 5. การเปิดตลาดตามข้อผูกพัน WTO ปริมาณใน โควตา 65 ตัน อัตราภาษีร้อยละ 27 อัตราภาษีนอก โควตาร้อยละ 57 และตามข้อตกลง AFTA เปิด ตลาดเสรี เก็บภาษีร้อยละ 5 ปัญหา 1.ต้นทุนการผลิตสูงทำให้ ไม่สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศจีน 2.ราคากระเทียมไม่มีเสถียรภาพ เนื่องจากปริมาณผลผลิตไม่สม่ำเสมอ หากปีไหนราคาดี ปีต่อไปเกษตรกร จะเพิ่มพื้นที่ปลูก ทำให้เกิดภาวะผลผลิต กระเทียมล้นตลาด ราคาตกต่ำเกษตรกร มักเรียกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหา อยู่เป็นประจำ 3.ขาดการวิจัยและพัฒนากระเทียม อย่างต่อเนื่อง