หน่วยเซลล์วิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การนำเสนอนวัตกรรม งานเภสัชกรรม.
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษา (I-NET)
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
โดย ทีมผู้ดูแลระบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11/03/2551
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การใช้งานระบบสินค้าคงคลัง
โจทย์ คณะมนุษยศาสตร์ ต้องการซื้อวัสดุสำนักงาน จำนวน 3 รายการ ประกอบด้วย 1. ตู้เก็บเอกสาร 10 ตู้ ตู้ละ 2730 บาท 2. ตู้เหล็ก 2 บาน 10 ตู้ ตู้ละ.
พี่ๆน้องๆทุกท่าน แจ้งเพื่อทราบและปฏิบัติค่ะ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
บทที่ 3 เอกสารทางการบัญชี
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
Checker คุณภาพทำได้อย่างไร
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การศึกษารายกรณี.
การป้อนข้อมูลใน Access จะทำผ่านฟอร์ม
การยืมเงินรองจ่าย งานคลังและพัสดุ คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เพื่อรับการประเมินภายนอก
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงการลดความล่าช้าของเอกสารขาย
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
การสอบเทียบเครื่องมือวัด
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
หมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire
เตรียมเอกสารประกอบการนำเสนอ
การวางแผนและการดำเนินงาน
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
ขั้นตอนการตรวจสอบเอกสารแบบยืนยันผู้กู้ (กยศ.) ด้วยตนเอง
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
ความเสี่ยงจากการปฏิบัติงาน ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
คุณสมบัตินักศึกษาโครงงาน
งานพัสดุ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การประชุมเชิงปฏิบัติการ หมวด 3 ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รพ
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
G Garbage.
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
“ ถุงมือ สะดวกใช้ – สบายใจ ผู้ตรวจ เพื่อลดการปนเปื้อน ”
คู่มือการตอบคำถามสุขภาพผ่านเว็บไซต์
ประเมินหลังการรับบริการ
เรื่อง ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
พัฒนาการสื่อสารงานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
ขั้นตอนในการติดต่อเรื่องฝึกงาน
การเขียนเอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมการวิจัย (Participant Information Sheet) โดย นางนวี เอกศักดิ์ กรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยมหิดล (Layperson)
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
Point of care management Blood glucose meter
Easy way to Estimate Training Project
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การประชุมซักซ้อมการปฏิบัติงาน การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส. ก
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
ขั้นตอนการเดินทางของเอกสาร
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรมหมวกนิรภัยให้แสงสว่าง
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลบ้านเขว้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยเซลล์วิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี 11 กุมภาพันธ์ 2554

บุคลากรงานเซลล์วิทยา Cytopathologist 4 คน Cytotechnologist (พิเศษ ) 2 คน Cytotechnologist 6 คน พนักงานวิทยาศาสตร์ 3 คน เจ้าหน้าที่พิมพ์ผล 1 คน

แผนผังห้องเซลล์วิทยา ห้องปฏิบัติการ ห้องสันทนาการ ทางเดิน ห้องอ่านสไลด์ ห้องลงทะเบียน

เซลล์วิทยาระบบสืบพันธุ์สตรี Cytotechnologist อ่านแล้วลงผลเองในระบบ ส่ง QC 20 % QC ออกวัน/วัน โดย Cytotechnologist (พิเศษ ) 2 คน อ่าน คนอ่านเป็นคนสุดท้ายเป็นคนลงชื่อในใบพิมพ์ผล แล้วจึงปล่อยผลออก กรณีผลผิดปกติส่งCytopathologist และ Cytopathologist (พิเศษ ) มีหน้าที่มาดูในช่องเองว่ามีสไลด์ให้อ่านหรือไม่ เมื่ออ่านเสร็จให้นำกลับมาส่งที่โต๊ะลงผล

ระบบอื่นๆ ในร่างกาย อ่านโดย Cytotechnologist, Cytotechnologist (พิเศษ) ในรายที่ปกติให้ออกผลได้เลย ในรายที่ผิดปกติต้องส่งต่อให้ Cytopathologist และให้เจ้าหน้าที่พิมพ์ผล พิมพ์และ Cytopathologist เป็นคนปล่อยผล ไม่ได้ทำ QC ทำเทียบผลกับชิ้นเนื้อในรายที่ผลผิดปกติเท่านั้น ทั้ง 2 ระบบ

ห้องปฏิบัติการ มีบุคลากร 3 คน เปลี่ยนเวรกันทำ โดยมีหน้าที่ - เตรียม มีบุคลากร 3 คน เปลี่ยนเวรกันทำ โดยมีหน้าที่ - เตรียม - ย้อม - ติด - แบ่ง - เบิกวัสดุ - เตรียมขวดใส่สิ่งส่งตรวจ

ห้องลงทะเบียน มีบุคลากร 1 คน มีหน้าที่ - รับสิ่งส่งตรวจ - ลงทะเบียน มีหน้าที่ - รับสิ่งส่งตรวจ - ลงทะเบียน - ลงผล - ส่งผล - เบิกและรับพัสดุ

ปัจจุบันมีสิ่งส่งตรวจประมาณ 40,000 ราย / ปี ออกผลได้ภายใน 4 วันทำการ 99 % ทำ QC วัน / วัน ความพึงพอใจของลูกค้าทำปีละ 1 ครั้ง ทั้งภายในและภายนอก มีการสอบทบทวนความรู้ทุกปี หรือใช้การอบรม

มีบุคลากร 1 คนทำเอกสารเกี่ยวกับ ISO ทั้งหมด (เขียนคู่มือ แบบฟอร์ม) ทุกคนที่อ่านผลและลงชื่อในใบรายงานผลต้องสอบให้ผ่านมาตรฐานของ สมอ. ระดับอื่นๆก็ต้องสอบตามระดับการปฏิบัติงานเช่นเดียวกัน คนทำคู่มือจะต้องทำ Flow chart แล้วทำคู่มือและเอกสารตาม Flow chart ทุกคนต้องรู้ Flow chart และต้องปฏิบัติตามคู่มือ ทุกคนต้องมี Port folio และเก็บผลการสอบทบทวนความรู้ หรือใบประกาศจากการอบรม

สิ่งส่งตรวจต้องเก็บไว้จนกว่าจะออกผลเสร็จ สไลด์แยกเก็บปกติและผิดปกติ สไลด์เก็บไว้ 5 ปีในรายปกติ และเก็บ 10 ปีในรายผิดปกติ ใบรายงานผลเก็บไว้ 5 ปี มีคนเข้าออก(จากภายนอก) มีสมุดลงชื่อ หน่วยงาน วันที่ เวลาเข้า-ออก จุดประสงค์ คนอนุญาต มีสมุดรับ-ส่งสิ่งส่งตรวจ พร้อมระบุวันที่เข้าออกเพื่อสะดวกในการทำระยะเวลาการออกผล มีสมุดส่งผล มีการจดบันทึกการตามผลทุกระบบ

มีใบปฏิเสธสิ่งส่งตรวจ และปฏิเสธโดยทีมแพทย์ สารเคมี มีคนควบคุม มีใบเตรียม บอกชื่อสาร วันที่เตรียม วันหมดอายุและชื่อผู้เตรียม มีแบบฟอร์มการย้อมสี และบันทึกทุกวัน เครื่องย้อมสีอัตโนมัติต้องทดลองย้อมก่อนการทำงานจริงทุกวัน เครื่องมือทุกเครื่องต้องมีคู่มือ มีวิธีปฏิบัติการใช้เครื่องมือ มีแบบฟอร์มการใช้งาน แบบฟอร์มการทำความสะอาด แบบฟอร์มการซ่อม แบบฟอร์มการสอบเทียบเครื่องมือ เครื่องมือที่ทำการสอบเทียบคือ centrifuge thermometer และนาฬิกาจับเวลา เครื่องย้อมสีอัตโนมัติ Hood ไม่ต้องทำการสอบเทียบเครื่องมือ