การจัดการเชิงกลยุทธ์ Strategic Management น.ส.กิ่งกมล นุ้ยห้วยแก้ว
การจัดการเชิงกลยุทธ์ ความหมาย การกำหนดทิศทางขององค์การในอนาคตไว้ ซึ่งต้อง อาศัยการวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนและการ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก และวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายใน แล้วกำหนดกลยุทธ์เพื่อให้ สามารถนำไปดำเนินการเพื่อให้บรรลุทิศทางตามที่ ได้กำหนดไว้
กระบวนการในการจัดการเชิงกลยุทธ์ 1. การวางแผนกลยุทธ์ ( Strategic Formulation ) 2. การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ( Strategic Implementation ) 3. การควบคุมและประเมินผลเชิงกลยุทธ์ ( Strategic Evaluation )
การวางแผนกลยุทธ์ ( Strategic Formulation ) การจัดการเชิงกลยุทธ์ การวางแผนกลยุทธ์ ( Strategic Formulation ) 1. การวิเคราะห์สถานการณ์ - วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก - วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน 2. กำหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักขององค์การ 3. กำหนดวัตถุประสงค์ 4. กำหนดกลยุทธ์
การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ( Strategic Implementation ) การจัดการเชิงกลยุทธ์ การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ( Strategic Implementation ) 1. วางแผนปฏิบัติการ ( Action Plan ) - ชื่อแผนงาน - เวลา - วัตถุประสงค์แผนงาน - ผู้รับผิดชอบ - ชื่อโครงการ - งบประมาณ - วัตถุประสงค์โครงการ 2. ปรับปรุง พัฒนาองค์การ - โครงสร้างขององค์การ - วัฒนธรรมขององค์การ - ระบบ - งบประมาณ - บุคลากร
การควบคุมและประเมินผลเชิงกลยุทธ์ ( Strategic Evaluation ) การจัดการเชิงกลยุทธ์ การควบคุมและประเมินผลเชิงกลยุทธ์ ( Strategic Evaluation ) 1. ติดตามตรวจสอบผลการดำเนินงานตาม แผนกลยุทธ์ 2. ติดตามสถานการณ์และเงื่อนไขต่างๆ ที่อาจ เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งอาจทำให้ต้องมีการปรับ แผนกลยุทธ์
การควบคุมกลยุทธ์ กำหนด มาตรฐาน การวัดผล การดำเนิน การดำเนินงาน การแก้ไข เปรียบเทียบผล กับมาตรฐาน
กระบวนการในการจัดการเชิงกลยุทธ์
ระดับของกลยุทธ์ (LEVELS OF STRATEGY) การจัดการเชิงกลยุทธ์ ระดับของกลยุทธ์ (LEVELS OF STRATEGY) 1. กลยุทธ์ระดับองค์การ (Corporate Strategy) 2. กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategy) 3. กลยุทธ์ระดับฝ่ายปฏิบัติการตามหน้าที่ (Functional Strategy)
กลยุทธ์ระดับองค์การ (Corporate Strategy) 1.กลยุทธ์การสร้างความเจริญเติบโต (Growth Strategies) 2.กลยุทธ์รักษาเสถียรภาพ (Stability Strategy) 3. กลยุทธ์การตัดทอน (Retrenchment)
กลยุทธ์การเจริญเติบโต ตามแนวนอน กลยุทธ์การเจริญเติบโต ที่มุ่งเน้นความเชี่ยวชาญ กลยุทธ์การเจริญเติบโต ตามแนวดิ่ง กลยุทธ์การ เจริญเติบโต กลยุทธ์การกระจาย แบบเกาะกลุ่ม กลยุทธ์การเจริญเติบโต ที่มุ่งการกระจายธุรกิจ กลยุทธ์การกระจาย แบบไม่เกาะกลุ่ม
กลยุทธ์การยับยั้ง กลยุทธ์การ รักษา เสถียร ภาพ กลยุทธ์การไม่ปลี่ยนแปลง กลยุทธ์การทำกำไร
กลยุทธ์การฟื้นฟู กลยุทธ์ การตัดทอน กลยุทธ์การขายทิ้ง กลยุทธ์การล้มละลาย
กลยุทธ์การเจริญเติบโต ตามแนวนอน กลยุทธ์การเจริญเติบโต ที่มุ่งเน้นความเชี่ยวชาญ กลยุทธ์การ เจริญ เติบโต กลยุทธ์การเจริญเติบโต ที่มุ่งการกระจายธุรกิจ กลยุทธ์การเจริญเติบโต ตามแนวดิ่ง กลยุทธ์การยับยั้ง กลยุทธ์การ รักษา เสถียร ภาพ กลยุทธ์การกระจาย แบบเกาะกลุ่ม กลยุทธ์ ระดับ องค์การ กลยุทธ์การไม่ เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์การกระจาย แบบไม่เกาะกลุ่ม กลยุทธ์การทำกำไร กลยุทธ์การการฟื้นฟู กลยุทธ์ การ ตัดทอน กลยุทธ์การการขายทิ้ง กลยุทธ์การล้มละลาย
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ (Business Strategy) กลยุทธ์ผู้นำด้านต้นทุน (Cost Leadership) กลยุทธ์สร้างความแตกต่าง (Differentiation) กลยุทธ์การมุ่งที่ต้นทุน (Cost Focus) กลยุทธ์การมุ่งที่ความแตกต่าง (Focus Differentiation )
กลยุทธ์ระดับฝ่ายปฏิบัติการตามหน้าที่ (Functional Strategy) 1. การตลาด (Marketing) 2. การผลิต (Manufacturing) 3. การจัดส่ง (Logistic) 4. การเงิน (Finance) 5. ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource) 6. การจัดการทั่วไป (General Management)
ตัวอย่างธุรกิจโรงพิมพ์ กลยุทธ์ระดับบริษัท ใช้กลยุทธ์เติบโต โดยปรับปรุงคุณภาพงาน และลงทุนเครื่องพิมพ์เพิ่ม กลยุทธ์ระดับธุรกิจ พัฒนาคุณภาพงานพิมพ์ โดยมีต้นทุนต่ำสุด กลยุทธ์ระดับหน่วยงาน การตลาด ทำการตลาดเชิงรุก ด้วยการกระตุ้นความต้องการสิ่งพิมพ์ในตลาดให้มากขึ้น การผลิต ปรับปรุงขบวนการผลิตให้ทันสมัย และมีต้นทุนต่ำลง การเงิน มีวินัยทางการเงิน รู้จักประหยัด และเน้นการขายเงินสด การจัดการ พัฒนาทีมงาน กำหนดหน้าที่งานแต่ละตำแหน่ง แบ่งงานและมอบหมาย งานให้เหมาะสม ติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง