DRG & AUDIT.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ป่วยนอกและผู้รับบริการอื่น ๆ เฉลี่ย / เดือน หน่วย : ครั้ง ( เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ )
Advertisements

ผลกระทบของ DRG ต่อศัลยแพทย์ไทย วิกฤต หรือ โอกาส
สาขาวิชาศัลยศาสตร์หลอดเลือด ภาควิชาศัลยศาสตร์
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Sulperazon.
กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลสระบุรี
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
การบันทึก เวชระเบียน.
รหัส การแพทย์แผนไทย.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
แนวโน้มผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ปี
LAB # 3 Computer Programming 1
ฝ่ายนโยบายและแผน งานงบประมาณ ฝ่ายการคลัง ภาควิชา หน่วยงาน
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
ทบทวนการให้รหัสICD-10TM For PCU
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
Ovarian tumor, morbid obesity
DRG and doctor.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
ผลเบิกจ่ายภาพรวมกรมส่งเสริมสหกรณ์ (แยกตามประเภทงบรายจ่าย) ประจำปีงบประมาณ 2557 ข้อมูล ณ วันที่ 21 เมษายน 2557 เวลา น. ที่มา : กองคลัง กลุ่มบัญชีและงบประมาณ.
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
วาระที่ 4.1 การเบิกจ่ายงบประมาณกันเหลื่อมปี 2548 – 2549 วาระที่ 4.1 การเบิกจ่ายงบประมาณกันเหลื่อมปี 2548 – 2549 สนผ., สทภ. 1 – 10 (ข้อมูล ณ วันที่ 24 เมษายน.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
กระบวนการทำงาน งานเวชระเบียนและสถิติ ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
เพราะเหตุใด คิดอย่างไร ใช้อะไร ใครเกี่ยวข้อง ลองอย่างไร ได้อะไร.
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
ผลการศึกษาข้อมูลสาเหตุการตาย รพ.จังหวัดสมุทรปราการ
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
ภัทรา อเนกวิทยากิจ สำนักตรวจสอบการชดเชยและคุณภาพบริการ (สตช.)
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 04. ข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Case Scenario. นส. ชมพู่ อายุ 26 ปี ไม่มีอาการ มารับการตรวจคัดกรองโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ Case 1 วันที่ รับบริการ ประเภท ผู้ป่วย ใหม่ / เก่า เพศอายุสัญชาติ
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 03. ข้อมูลการให้บริการ
ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนปีงบประมาณ 2551 ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป งบจัดสรรผลการเบิกจ่าย ร้อยละ การเบิกจ่าย ลำดับที่ 1 กรมทางหลวงชนบท.
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
การบันทึกข้อมูล ในโปรแกรมJHCIS ให้ครบถ้วน ทุกแฟ้ม ตามรายงาน 18 แฟ้ม
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
สำนักงานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ(สกส)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
นันท์นลิน นาคะกุล พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ เมษายน 2557 แนวทางการส่งต่อผู้ป่วย โดยใช้โปรแกรม ThaiRefer Pitfall ที่พบบ่อยในการ ส่งต่อ.
Palliative Care e-Claim.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

DRG & AUDIT

องค์ประกอบของ DRG รหัสการวินิจฉัยโรค (ICD-10 (WHO)) รหัสหัตถการ (ICD-9-CM) อายุ เพศ น้ำหนักตัวในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี ชนิดของการจำหน่ายจากหน่วยบริการ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในครั้งนั้น

แฟ้มข้อมูลมาตรฐาน

Main condition (ICD-10) โรคที่ได้รับการวินิจฉัยแน่ชัดเมื่อสิ้นสุดการรักษาในครั้งนั้น และเป็นโรคที่เป็นเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยต้องมารับการรักษา ถ้ามีมากกว่า 1 โรค ให้เลือกโรคที่สิ้นเปลือง ทรัพยากรในการรักษามากที่สุด ถ้าไม่สามารถวินิจฉัยได้ชัดเจน อาจใช้อาการหรือ อาการแสดงที่ผิดปกติมาใช้เป็นโรคหลักแทน

Comorbidity & complication Other diagnosis (ICD-10 second edition) การวินิจฉัยร่วม อาจมีได้หลายการวินิจฉัย เกิดก่อนหรือระหว่างรับไว้ แต่ไม่สำคัญเท่าการวินิจฉัยหลัก Affect management ถ้าไม่ affect management ไม่ต้องบันทึก

หัตถการ

หัตถการ ไม่มีคำจำกัดความที่ชัดเจน ใช้คำย่อหรือคำเฉพาะที่หลากหลาย จัดลำดับความสำคัญของหัตถการไม่ถูก ไม่เข้าใจในหนังสือ ICD-9-CM Omit code Code also

ปัญหาที่พบในการสรุปเวชระเบียน Principal diagnosis Ambiguous 2.9% Incorrect 24.99 Non specific 11.41% Additional diagnosis Incorrect 44% Missing 25.09% Non specific 6.56% Over diagnosis 7.6% พ.ศ.2547

ปัญหาที่พบในการสรุปเวชระเบียน Incorrect procedure 10.54% Missing 7% Incorrect 0.99% Non specific 2.56% Unjustified 0.58% พ.ศ.2547

หัตถการ ไม่ลงวันและเวลาในการทำหัตถการ ไม่มีข้อมูลสนับสนุนการทำหัตถการ ไม่มี progress note ไม่มี operative note ไม่บรรยายสิ่งที่ตรวจพบหรือตัดออก

ปัญหาที่พบในระบบ เบิกค่าใช้จ่ายไม่ตรงกับโรค เบิกค่าผ่าตัดสมองในโรคหัวใจ เบิกค่าใช้จ่ายไม่ตรงกับหัตถการ เบิกค่าเหล็กดามกระดูกแขน แต่หัตถการเป็นตำแหน่งของขา มีการเปลี่ยนแปลงระบบการให้บริการทางด้านศัลยกรรม

ไส้ติ่งอักเสบที่มีการผ่าตัด รวม รพ.ศ. รพ.ท. รพ.ช. รพ.เอกชน 2547 76,962 18,460 23,491 17,131 1,800 2548 83,569 20,983 27,163 17,359 1,782 2549 89,169 24,088 29,610 16,086 1,866

ไส้ติ่งอักเสบที่ส่งต่อโดยไม่ได้ผ่าตัด Refer รวม รพ.ศ. รพ.ท. รพ.ช. รพ.เอกชน 2547 8,571 16 73 8,473 9 2548 9,324 19 119 9,172 14 2549 10,655 28 163 10,447 17

Appendectomy without complication in regional hospital 2549 จำนวน 21,239 ราย Mean SD Min Max ค่าใช้จ่าย 12,074 6,666 8 211,169 วันนอน 3.4 2.1 47 adjrw 1.0022 0.0902 0.3813 3.29

Appendectomy without complication in regional hospital 2549

Appendectomy without complication in regional hospital 2549 แสดงเฉพาะกลุ่มให้เห็นรายละเอียดที่ค่าใช้จ่ายต่ำกว่า 2000 บาท จำนวน 109 ราย

Appendectomy without complication in rural hospital 2549 จำนวน 13,946 ราย Mean SD Min Max ค่าใช้จ่าย 11,116 5,202 5 218,603 วันนอน 3.6 2.4 0.0 134.0 adjrw 1.0032 0.0833 0.3813 3.2900

Appendectomy without complication in rural hospital 2549

Appendectomy without complication in rural hospital 2549 แสดงเฉพาะกลุ่มให้เห็นรายละเอียดที่ค่าใช้จ่ายต่ำกว่า 2000 บาท จำนวน 121 ราย

จำนวนการเจาะคอในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศรีษะ รพ.ศ. รพ.ท. รพ.ช. รพ.เอกชน 2547 557 208 5 13 2548 639 214 6 16 2549 588 250 4 7

จำนวนการเจาะคอในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ & LOS < 14 days รพ.ศ. รพ.ท. รพ.ช. รพ.เอกชน 2547 155 38 2 5 2548 142 41 3 2549 154 63 1

อัตราการเจาะคอในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ & LOS < 14 days รพ.ศ. รพ.ท. รพ.ช. รพ.เอกชน 2547 27.8% 18.3% 40.0% 38.5% 2548 22.2% 19.2% 33.3% 18.8% 2549 26.2% 25.2% 25.0% 28.6%

จำนวนผู้ป่วย head injury ที่ส่งต่อ รพ.ศ. รพ.ท. รพ.ช. รพ.เอกชน 2547 747 1,195 4,313 100 2548 909 1,581 5,588 73 2549 976 1,626 6,187 80

Tracheostomy in CVA รพ.ศ. รพ.ท. รพ.ช. รพ.เอกชน 2547 531 337 18 51 2548 705 406 28 70 2549 740 463 31 83

Tracheostomy in CVA and LOS <14 days รพ.ศ. รพ.ท. รพ.ช. รพ.เอกชน 2547 81 28 6 4 2548 102 35 5 3 2549 121 63 10 13

Tracheostomy in CVA and LOS <14 days รพ.ศ. รพ.ท. รพ.ช. รพ.เอกชน 2547 15.3% 8.3% 33.3% 7.8% 2548 14.5% 8.6% 17.9% 4.3% 2549 16.4% 13.6% 32.3% 15.7%

การดำเนินงานในปัจจุบัน ผลักดันให้ใช้ DRG version 4.0 แทน version ปัจจุบัน หารูปแบบการจ่ายเงินผู้ป่วยนอกที่มี high price procedure หารูปแบบการจ่ายเงินผู้ป่วยในที่มี high price procedure and short stay

การดำเนินงานในปัจจุบัน ขยายจำนวนและอัตราค่าอุปกรณ์อวัยวะเทียมให้เทียบเท่ากรมบัญชีกลาง

การดำเนินงานในปัจจุบัน จัดให้มีการจ่ายตามคุณภาพการสรุปเวชระเบียนโดยเพิ่มเหมาจ่ายรายหัวให้ในกรณีที่มีข้อผิดพลาด 3 ข้อนี้น้อย 2b = Invalid principal diagnosis 4d = Unjustified additional diagnosis 6 = Unjustified operation summary จัดให้มีการจ่ายเพิ่มในกรณีส่งข้อมูล ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา (30 วัน)

การดำเนินงานในอนาคต พัฒนาตัวชี้วัดด้านคุณภาพ อัตราการตัดขาในผู้ป่วยเบาหวาน หาความสัมพันธ์ระหว่างวันเวลาที่รับผู้ป่วยกับเวลาที่เข้าห้องผ่าตัด Acute appendicitis Open fracture Neurosurgery