ประเด็น : ผลการดำเนินงาน Service Plan

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

รายงานผลการดำเนินงาน บริหารจัดการค่าใช้จ่าย
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
Workshop แบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
อัญชลีพร พันธุ์วิไล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Services Plan) สาขาสุขภาพช่องปาก
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
กลุ่มพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข งบประมาณ ปี การส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน โครงการจัดทำชุดความรู้ประสบการณืการจัด กิจกรรมของครู โครงการจัดการความรู้
ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน มีนาคม - มิถุนายน 2549
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
สรุปการประชุม เขต 10.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การพัฒนาสาขาสุขภาพช่องปาก เขตบริการสุขภาพที่ 11
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
สาขาจิตเวช.
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข (4 ก. พ.2557)  ผลงาน QOF ทันตกรรม 2 เรื่อง  งานบริการทันตกรรมที่ผู้ตรวจ ราชการให้ความสำคัญ.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
ความต้องการ สนับสนุน เพื่อการพัฒนาสาขา สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 1 วันที่ 28 กันยายน 2557.
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด
การประชุมสมัชชาคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ วันที่ ๒๖ – ๒๗ เมษายน พ. ศ. ๒๕๕๓.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเด็น : ผลการดำเนินงาน Service Plan ข้อ ๒.๑.๘ การพัฒนาระบบบริการทันตกรรม ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน 1.รพสต.ให้บริการด้านทันตฯ 45% 37.08 % (79/213 แห่ง) 2. รพสต.ให้บริการทันตฯ 200ครั้ง/1,000ปชก./ปี --- เทียบกับจำนวน รพสต.ทั้งหมดได้ 15.5% (33/213แห่ง) เทียบกับจำนวน รพสต.ที่มีทันตาฯได้ 38 % (8/21 แห่ง)

สาเหตุ การแก้ไข และข้อเสนอแนะ สาเหตุ ตัวชี้วัดที่ 1 ได้ต่ำกว่าเกณฑ์ เพราะเป็น จว.ที่มี รพสต.มาก (213 แห่ง) แต่ทันตาฯในรพสต.เพียง 21 แห่ง (9.86%) พื้นที่ได้แก้ไขโดย รพ.สต. ที่มีทันตาฯต้องออกหน่วยในรพสต.ที่ไม่มีทันตาฯด้วย ส่งผลให้ตัวชี้วัดที่ 2 ได้ต่ำกว่าความคาดหมาย การแก้ไข เดือนเมย.นี้ จะบรรจุทันตาในรพ.สต.เพิ่ม ซึ่งคาดว่าจะทำให้มี รพสต.ที่จัดบริการทันตฯ ได้ตามเกณฑ์ ทั้ง 2 ตัวชี้วัด ข้อเสนอแนะ จว.ควรจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพทันตาจบใหม่และควรจัดระบบพี่เลี้ยงช่วยเหลือน้อง เพื่อสนับสนุนให้น้องสามารถปฏิบัติงานมีคุณภาพได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

ประเด็น : ผลการดำเนินงาน Service Plan ข้อ ๒. ๑ ตัวชี้วัด เกณฑ์ / เป้าหมาย ผลงาน 3.ผสอ.รอฟันเทียม< 6 เดือน --- 61.8 % สาเหตุ มี ผสอ.ต้องการทำฟันเทียมจำนวนมาก สูงกว่าเป้าหมายฯ และทพ.ใหม่ไม่ชำนาญฯ หากทำแต่ฟันเทียมจะกระทบงานอื่น ข้อเสนอแนะ ควรประชุมหารือให้เครือข่ายพื้นที่ช่วยกัน เช่น จัดอบรม พัฒนาศักยภาพ? ลงแขก? หรือประสานกับ คณะทันตฯมธ. ออกหน่วยในพื้นที่ หรืออื่นๆ

ตัวชี้วัดนี้มีปัญหาสูงมาก (บางแห่งผุ>80%) ประเด็น : ผลการดำเนินงาน Service Plan ข้อ ๒.๑.๘ การพัฒนาระบบบริการทันตกรรม ตัวชี้วัด เกณฑ์ / เป้าหมาย ผลงาน 4.เด็ก ๓ ขวบ ฟันผุ ≤ 57 % 65.7 % ตัวชี้วัดนี้มีปัญหาสูงมาก (บางแห่งผุ>80%) ข้อเสนอแนะ ต้องทำกิจกรรมที่กำหนดไว้อย่างจริงจัง พื้นที่มีปัญหารุนแรงต้องถือเป็นงานสำคัญ และควรศึกษาบริบทเชิงสังคมพฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบราย CUP สะท้อนปัญหาให้ผู้เกี่ยวข้อง/ผู้บริหารรับทราบ ที่สำคัญต้องเน้นงานส่งเสริมป้องกัน และทำงานเชิงรุกให้เข้าถึงครอบครัว รวมทั้งให้ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาด้วย

ชื่นชม ๑. งานในกลุ่มวัยเรียน มีผลงานดี ปัญหา เด็กฟันผุ เหงือกอักเสบ <ค่าเฉลี่ยประเทศ ๒. เครือข่ายบางปะหันแปดเซียน นักเรียนฟันดี ได้รับรางวัลเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดีระดับยอดเยี่ยม มีจุดเด่นที่ ทันตบุคลากรสามารถกระตุ้นให้ผู้บริหาร และครูร่วมกันดำเนินกิจกรรมฯในโรงเรียน จนมีผลงานดีเด่นเป็นที่ประจักษ์