มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หน่วยคอมพิวเตอร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิสัยทัศน์ “เป็นศูนย์เวชสารสนเทศชั้นนำของประเทศ ที่สามารถพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด”
พันธกิจ พัฒนาระบบสารสนเทศได้ด้วยตนเอง เพื่อสนับสนุนภาระกิจหลักของคณะแพทย์ ทั้งด้านบริการ ด้านบริหาร และด้านวิชาการ
หัวหน้างาน/บุคลากร
ระบบสารสนเทศคณะแพทยศาสตร์ สารสนเทศด้านบริหาร/วิชาการ (400) งานคลัง , งานบุคคล , ห้องสมุด , อื่น ๆ สารสนเทศโรงพยาบาล (480)
ระบบสารสนเทศคณะแพทยศาสตร์
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
การวางแผนระบบ เสนอเป็นโครงการ 4 ปี (2543-2547) เสนอเป็นโครงการ 4 ปี (2543-2547) รายงานความก้าวหน้าทุก 6 เดือน
เป้าประสงค์ของระบบ เป็น Data Mining สนับสนุนงานบริการผู้ป่วย ( ลดความผิดพลาด จากลายมือ) สะดวกรวดเร็ว (ลดขั้นตอนการลงข้อมูลซ้ำซ้อน) อำนวยความสะดวกในการรายงานผล เป็น Data Mining Computerized Patient Record
การออกแบบระบบ ผู้บริหารอนุมัติโครงการ สำรวจความต้องการของผู้ใช้ทุกระดับ พัฒนาโปรแกรม/ประสานงานผู้ใช้
โครงสร้างระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงข้อมูลร่วมกัน ระบบนัดผู้ป่วย - ระบบเวชระเบียนผู้ป่วยนอก/ใน ระบบผู้ป่วยนอก - ระบบการเงินผู้ป่วยนอก/ใน ระบบผู้ป่วยใน - ระบบปฏิบัติการพยาธิ/รังสีวิทยา ระบบเภสัชกรรม - หน่วยสนับสนุนการรักษาต่าง ๆ
มาตรฐานระบบสารสนเทศ ใช้รหัสโรค ICD-10 และ IC9 CM ค่ารักษาพยาบาลโรคอิงระบบ DRG บันทึกเลขบัตรประชาชนในระบบเวชระเบียน
มาตรฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐานสากล หาง่าย ประหยัด เหมาะสมกับงาน ใช้งานและบำรุงรักษาง่าย
ความปลอดภัยของข้อมูล มี Application Server และ Database Server แยกสถานที่ตั้ง Database server สำรอง บันทึกข้อมูลพร้อมกัน 2 ชุด (2 Database Server) จำกัดสิทธิและลำดับชั้นของผู้ใช้ข้อมูล เป็นระบบปิด ไม่เชื่อมต่อกับเครือข่าย Internet
ประโยชน์จากระบบสารสนเทศ วิเคราะห์ข้อมูลค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยในได้ วิเคราะห์รายรับค่ารักษาพยาบาลแยกประเภทตามสิทธิ วิเคราะห์ข้อมูลค่ารักษาจริงเทียบกับระบบ DRG รายงานสนับสนุนงานบริหารและวิชาการ
แห่งแรกของประเทศ Online สู่เครือข่ายบริหารผู้ป่วยระดับชาติ สิ่งท้าทายของระบบสารสนเทศและเวชระเบียน Computerized Patient Record 100% แห่งแรกของประเทศ Online สู่เครือข่ายบริหารผู้ป่วยระดับชาติ