Heckscher-Ohlin Theory(1) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Comparative advantage and the gains from trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Comparative advantage and the gains from trade (cont.)
EC451 Lecture 10 Heckscher-Ohlin (4) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ.
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
บทที่ 9: ผลของการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่อการค้าระหว่างประเทศ
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
ศ. 432 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน
EC451 International Trade Theory and Policy
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin (2) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
3.4 ประโยชน์จากการค้าภายใต้ข้อสมมติต้นทุนเพิ่มขึ้น
Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
Lecture 8.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Lesson 11 Price.
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Theory of Firm.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Efficiency & Economy DRMC. ทางเลือก INPUTS OUTPUTS Land, Labor, Capital Consumer Goods Defense Goods Investment Items, etc..
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ตลาดและการแข่งขัน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
เศรษฐกิจไทยโดยนิด้าโมเดล: เงินเฟ้อ VS วิกฤตยูโร NIDA Macro Forecast
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
การวางแผนการผลิต และการบริการ
Demand in Health Sector
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีการผลิต.
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Heckscher-Ohlin Theory(1) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ EC451 Lecture 7 Heckscher-Ohlin Theory(1) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ

Heckscher-Ohlin assumptions 2 ประเทศ (Nation 1 และ Nation 2) 2 factors of production (ทุน และ แรงงาน) 2 final goods (commodity X และ commodity Y) สินค้า X ใช้แรงงานเข้มข้น (labour intensive) ขณะที่สินค้า Y ใช้ทุนเข้มข้น (capital intensive) CRS technology เทคโนโลยีเหมือนกันในทุกประเทศ ผู้บริโภคในทุกประเทศมีรสนิยมเหมือนกัน perfect competition ทั้งในตลาดสินค้าและตลาดปัจจัย perfect factor mobility ภายในประเทศ แต่ factor immobility ระหว่างประเทศ การค้าไม่มี trade costs

Heckscher-Ohlin assumptions ปัจจัยการผลิตทุกชนิดอยู่ในสภาวะการจ้างงานเต็มที่ K = KX + KY and K* = K*X + K*Y L = LX + LY and L* = L*X + L*Y trade balance (มูลค่าส่งออกเท่ากับนำเข้า) Export Value = Import Value PEXQEX = PIMQIM

Production Frontiers ของประเทศ 1 และประเทศ 2 Factor Endowment Production Frontiers ของประเทศ 1 และประเทศ 2 Nation 1 is relatively labor abundant. Nation 2 is relatively capital abundant. Production of X is labour-intensive. Production of Y is capital-intensive.

Factor prices กับ factor endowment ประเทศ 1 เป็นประเทศที่มีแรงงานอุดมสมบูรณ์ ประเทศ 2 เป็นประเทศที่มีทุนอุดมสมบูรณ์ K Nation 2: w/r =2 Nation 1: w/r =1 L o

Factor prices กับ production techniques Relative factor price ส่งผลต่อเทคนิคการผลิตที่เหมาะสม 1x K (KX/LX)Nation 2 (KX/LX)Nation 1 (w/r)2=2 (w/r)1 =1 L o

Technology vs. technique The production technology คือ ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนปัจจัยการผลิตที่ใช้กับปริมาณผลผลิต The production technique คือ ส่วนผสมของปัจจัยการผลิตที่เลือกใช้ (โดยขึ้นกับราคาปัจจัยการผลิตที่เป็นอยู่) เพื่อผลิตสินค้าในปริมาณที่ต้องการ สองประเทศที่มี technology เหมือนกัน อาจเลือกใช้ techniques ต่างกัน ถ้าสัดส่วนราคาปัจจัยการผลิตของแต่ละประเทศต่างกัน ในภาวะ autarky ประเทศที่เป็น labor-rich มี w/r ต่ำ ประเทศที่เป็น capital-rich มี w/r สูง

Factor Intensity Commodity X is labor-intensive, Commodity Y is capital-intensive kY K 1Y 1X kX -(w/r)Nation 1 L

Changes in Factor prices lead to changes in production techniques kY2 K 2Y kX2 1X -(w/r)Nation 2 L

Relative factor prices ต่างกันทำให้ผู้ผลิตในสองประเทศที่มีสัดส่วนทรัพยากรต่างกันใช้เทคนิคต่างกันในการผลิต เทคนิคการผลิตที่ผู้ผลิตในประเทศที่มีทุนมาก (capital-abundant country) เลือกใช้ มีความเข้มข้นในปัจจัยทุน (capital intensive) กว่าเทคนิคของประเทศที่มีแรงงานมาก (labor-abundant country) ในทั้งสินค้า X และ Y เทคนิคการผลิตที่ผู้ผลิตในประเทศที่มีแรงงานมาก (labor-abundant country) เลือกใช้ มีความเข้มข้นในปัจจัยแรงงาน (labor intensive) กว่าเทคนิคของประเทศที่มีแรงงานมาก (capital-abundant country) ในทั้งสินค้า X และ Y

Changes in Factor prices lead to changes in production techniques kY2 =4 K kY1 =1 2Y 1Y kX2 =1 2X 1X kX1= 1/4 -(w/r)Nation 1 -(w/r)Nation 2 L

Factor prices and production techniques 1 w/r k = K / L 2 k1 k2 kX

Factor prices and factor intensities kY k = K / L kX w/r (w/r)1 (w/r)2

ความเข้มข้นของปัจจัยการผลิตที่ใช้ในการผลิตสินค้า X และY ในแต่ละประเทศ Y is “capital intensive” X is “labour intensive”. Nation 1 is labor abundant Nation 2 is capital abundant.

Factor Prices and Good Prices PX / PY 5/4 1 w/r 1 2 สินค้า X เป็น Labor-intensive goods. สินค้า Y เป็น Capital-intensive goods เมื่อ ค่าตอบแทนแรงงานเพิ่มขึ้นดดยเปรียบเทียบกับทุน ย่อมทำให้สินค้าที่ใช้แรงงานมากมีต้นทุนเพิ่มขึ้นมากกว่าสินค้าที่ใช้ทุนมาก

goods prices and factor prices

Factor prices and factor intensities w/r kX 2 1 -PX / PY k = K / L -5/4 -1