งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
EC Lecture 2 Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ

2 Trade Questions ทำไมถึงมีการ trade Trade จะมีรูปแบบอย่างไร
ความพยายามที่จะตอบคำถามเหล่านี้มีมานานหลายศตวรรษ และมีการพัฒนาแนวคิดไปเป็นพื้นฐานของทฤษฎีการค้าฯในปัจจุบัน

3 แนวคิดดังกล่าวยังคงสะท้อนให้เห็นอยู่ในทฤษฎียุคปัจจุบัน
ประเทศที่ทำการค้ากันได้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน (Gain from Trade) ประเทศต่างๆมีทรัพยากรต่างกันจึงนำไปสู่การค้าระหว่างกัน เป็นพื้นฐานของ Hecksher-Ohlin Model

4 พาณิชย์นิยม (Mercantilism)
17th and 18th century รัฐต้องสร้างความมั่งคั่งให้มากที่สุด (สะสมทองคำ) ความมั่งคั่งของรัฐ (ชนชั้นปกครอง) ถูกตีความว่าคือความมั่งคั่งของชนชาติ สงครามเกิดขึ้นบ่อย ทองคำและความมั่งคั่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการสร้างกองทัพ เชื่อว่าวิธีการสร้างความมั่งคั่งของรัฐคือส่งออกให้มากที่สุด นำเข้าให้น้อยที่สุด This type of thinking still resonates in modern day debates.

5 เป้าหมายหลักคือ Maximize National welfare
พาณิชย์นิยมยังสนับสนุนแนวคิดในเรื่องการให้สัมปทานผูกขาดการทำการค้า British East India Company เป้าหมายหลักคือ Maximize National welfare สอดคล้องกับการเกิดขึ้นของรัฐ (the nation state)

6 Mercantilism ในยุคหลัง
ในที่สุด mercantilist authors เริ่มตระหนักว่าแนวคิดของตนไม่ประสบความสำเร็จเพราะในระยะยาวจะนำไปสู่ปัญหาในดุลการชำระเงิน in the long run, more exports requires more imports แนวคิดเปลี่ยนไปสู่การเลือกคุ้มครองบางอุตสาหกรรม important for development increase employment รัฐต้องเข้ามาแทรกแซงการค้าระหว่างประเทศ เพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมที่เป็นอนาคตของชาติ แม้อาจต้องยอมแลกกับผลประโยชน์ปัจจุบันของเอกชน

7 แนวคิดของ mercantilist ยุคหลังเป็นพื้นฐานเดียวกันกับทฤษฎียุคปัจจุบันในส่วนของ
Picking-up-the-Winner Industrial Policy Infant Industry Argument

8 Adam Smith – Wealth of Nations (1776)
โต้แย้งแนวคิดของ mercantilist ที่ว่าประโยชน์แห่งชาติจะสูงสุดเมื่อรัฐเข้าแทรกแซง Smith เชื่อใน Invisible hands ของกลไกตลาด เชื่อว่ารัฐบาลมีขีดความสามารถจำกัด ไม่รู้ว่าแทรกแซงอย่างไร ขนาดไหนจึงเหมาะสม การแทรกแซงเอื้อให้เกิดการแสวงหาผลประโยชน์ของกลุ่มผลประโยชน์ (rent-seeking activities) ซึ่งจะทำให้สวัสดิการเศรษฐกิจถดถอย Smith เชื่อว่าชาติที่ปล่อยให้เอกชนทำการค้าโดยเสรีจะมีสวัสดิการเศรษฐกิจดีขึ้นกว่ากีดกันการค้า Free Trade Specialization on basis of absolute advantage.

9 Smith’s contributions
ผสานแนวคิดของ natural rights กับ universal economy arguments ริเริ่ม concept ของ opportunity costs Absolute advantage economic welfare

10 Absolute advantage (ความได้เปรียบสัมบูรณ์)
or ประเทศ ก มี absolute advantage เหนือประเทศ ข ในสินค้าชนิดหนึ่ง เมื่อประเทศ ก สามารถผลิตสินค้านั้นได้จำนวนเท่ากับประเทศ ข โดยใช้ทรัพยากรการผลิตน้อยกว่า

11 Example ผลผลิคต่อ man-hour
ราคาในประเทศ (ถั่วเหลืองต่อผ้า) : :4 If each country specializes and trade ราคาตลาดโลก : :4 Gains from Trade 2 Bolts of cloth 2 tons of soybean

12 ประเทศที่ไม่เก่งในสินค้าใดเลยจะมีการส่งออกหรือไม่?
Next Topic ประเทศที่ไม่เก่งในสินค้าใดเลยจะมีการส่งออกหรือไม่? the Ricardian model of trade based on comparative advantage.


ดาวน์โหลด ppt Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google