งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
EC451 Lecture 9 Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ

2 ประเทศ 1 เป็น labour abundant ประเทศ 2 เป็น capital abundant.
ความเดิมตอนที่แล้ว ประเทศ 1 เป็น labour abundant ประเทศ 2 เป็น capital abundant. Good X เป็น labour intensive Good Y เป็น Capital intensive.

3 Trade กับ Distribution of Income
เรารู้ว่า Trade ทำให้ factor prices เท่ากันในสองประเทศ Trade ทำให้ output prices เท่ากันในสองประเทศ คำถามต่อไปคือ Trade ส่งผลต่อ Real wages (w/p) ในสองประเทศอย่างไร Trade ส่งผลต่อ Real interest rates (r/p)ในสองประเทศอย่างไร

4 Trade ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในราคาปัจจัยการผลิตในสองประเทศ

5 Labor-abundant Country
PX  increased PY  decreased w  increased r  decreased PX = w + r PY = w + r (+) (+) > (-) (-) (+) < (-) Magnification effect : %Dw > %DPX > %DPY > %Dr real income of abundant factor increased: |%Dw | > | %DP | real income of scarce factor decreased : |%Dr | > | %DP |

6 Capital-abundant Country
PY  increased PX  decreased r  increased w  decreased PY = w + r PX = w + r (+) (-) < (+) (-) (-) < (+) Magnification effect : %Dr > %DPY > %DPX > %Dw real income of abundant factor increased: |%Dr | > | %DP | real income of scarce factor decreased : |%Dw | > | %DP |

7 Stolper-Samuelson Theorem
“การค้าระหว่างประเทศโดยเสรีทำให้รายได้แท้จริงของปัจจัยที่มีมากสูงขึ้น แต่รายได้แท้จริงของปัจจัยขาดแคลนกลับลดลง” “การค้าระหว่างประเทศโดยเสรีทำให้สินค้าที่ส่งออกได้มีราคาสูงขึ้นแต่ทำให้สินค้าที่ต้องแข่งขันกับสินค้านำเข้ามีราคาลดลง ดังนั้นปัจจัยการผลิตที่ใช้มากในการผลิตสินค้าที่ส่งออกได้จะมีรายได้แท้จริงสูงขึ้นแต่ปัจจัยการผลิตที่ใช้มากในการผลิตสินค้าที่ต้องแข่งขั้นกับสินค้านำเข้ามีรายได้แท้จริงลดลง” Who benefits from trade liberalisation?

8 Economic welfare Aggregate welfare ของทั้งสองประเทศสูงขึ้นจากการค้าระหว่างประเทศโดยเสรี แต่ผลประโยชน์ของบางกลุ่มบุคคลอาจลดลต่ำลง การค้าระหว่างญี่ปุ่นกับจีน ส่งผลต่อ Welfare ของกลุ่มบุคคลอย่างไร Japan China Capitalists + - Workers - + Total เจ้าของปัจจัยการผลิตที่มีอยู่มากมีสวัสดิการสูงขึ้นจากการค้า (gain from trade) เจ้าของปัจจัยการผลิตที่ขาดแคลนมีสวัสดิการลดลงจากการค้า (lose from trade)

9 Summary of Heckscher-Ohlin model results
ความแตกต่างระหว่างประเทศในแง่ของสัดส่วนทรัพยากรทำให้เกิดโอกาสและประโยชน์จาก การค้าระหว่างกัน Comparative advantage (และ the pattern of trade) เกิดขึ้นมาจากความ แตกต่างในสัดส่วนทรัพยากร ไม่ใช่ความแตกต่างในจำนวนทรัพยากร. การค้าในสินค้าส่งผลเหมือนการค้าในปัจจัยการผลิต แต่ละประเทศมี gain from trade เพราะ trade ทำให้เกิด to the expansion of a nation's consumption possibilities frontier ซึ่งย่อมทำให้มี improvement in aggregate welfare. เจ้าของ “abundant” factors ได้ประโยชน์จาก trade ในขณะที่เจ้าของ “scarce” factors เสียประโยชน์ (in the 2x2x2 version of the model and frictionless world) การเปิด ประเทศทำการค้าทำให้เกิดความเท่าเทียมกันในค่าตอบแทนปัจจัยการผลิต

10 ข้อยกเว้นในทฤษฎี

11 Factor-Intensity Reversal.
kx ky ky kx Factor-Intensity Reversal.

12 Factor intensity Reversal
หากมีการผกผันในความเข้มข้นของการใช้ปัจจัย H-O theorem อาจใช้ไม่ได้

13 Empirical work: Leontief Paradox
วิเคราะห์ U.S. input-output table ในปี 1947 เพื่อดูสัดส่วนทุนต่อแรงงานในสินค้าส่งออกและนำเข้าของ U.S. ถ้าเป็นไปตามคำทำนายของ H-O theorem ควรจะพบว่า capital abundant U.S. should be a net exporter of capital services สินค้านำเข้าของ U.S. จะมี K/L ต่ำ ขณะที่สินค้าส่งออกมี K/L สูง

14 Leontief’s Test Table 4.1 Leontief’s Test Leontief used the numbers in this table to test the Heckscher-Ohlin theorem. Each column shows the amount of capital or labor needed to produce $1 million worth of exports from, or imports into, the United States in As shown in the last row, the capital-labor ratio for exports was less than the capital labor ratio for imports, which is a paradoxical finding. Source: Wassily Leontief, 1953, “Domestic Production and Foreign Trade: The American Capital Position Re-examined,” Proceedings of the American Philosophical Society, 97, September, 332–349. Reprinted in Richard Caves and Harry G. Johnson, eds., 1968, Readings in International Economics, Homewood, IL: Irwin.

15 Empirical work: Leontief Paradox
ในความเป็นจริงพบว่า สินค้านำเข้าของ U.S. จะมี K/L เฉลี่ยสูงกว่าสินค้าส่งออก Possible explanations Multiple factor world: U.S. เป็นประเทศที่เป็น skilled labour abundant, natural resource abundant ด้วย ใช้ U.S. I-O table เท่ากับ assume ว่าทุกประเทศใช้เทคโนโลยีเดียวกับใน U.S. จริงๆแล้วสินค้านำเข้าที่ผลิตใน US ใช้ technology ที่เป็น capital intensive ในประเทศอื่นอาจในเทคฯที่เป็น labour intensive


ดาวน์โหลด ppt Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google