ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
เกณฑ์การประเมินของ สกว.
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
การจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประจำปีงบประมาณ
ระบบการบริหารการตลาด
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
การประมวลและประเมินความก้าวหน้าทางวิชาการ
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นสายวิชาการ พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นสายสนับสนุน
การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลัง
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
ส่วนการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เลื่อนขั้นค่าตอบแทน และค่าตอบแทนพิเศษ พนักงานราชการ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
การประเมินสมรรถนะครู
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
ความคืบหน้าการเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการของสายสนับสนุน
จิบน้ำชา สายวิชาการ 7 มีนาคม 2554.
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ชื่อหน่วยงาน ฝ่าย/งาน ก.
การวิเคราะห์ Competency
การระบุตำแหน่ง ตาม พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
ลักษณะสำคัญขององค์กร
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ว 5/2554.
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เพศจำนวน ร้อย ละ ชาย หญิง รวม
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ ประสบการณ์ ของนักวิจัย ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ

ตรวจสอบสถานะของตนเอง - เป็นข้าราชการ หรือ - พนักงานมหาวิทยาลัยตามข้อบังคับใหม่

ข้าราชการ ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับเชี่ยวชาญ ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับปฏิบัติการ ระดับปฏิบัติงาน ตำแหน่งวิชาชีพเฉพาะ/ เชี่ยวชาญเฉพาะ ตำแหน่งประเภททั่วไป

พ.มหาวิทยาลัยตามข้อบังคับใหม่ ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ (26,000) ระดับเชี่ยวชาญ (19,800) ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับชำนาญงานพิเศษ (11,200) ( 7,000) (5,000) (5,000) ระดับชำนาญงาน (ต่ำกว่าป.ตรี) ตำแหน่งวิชาชีพเฉพาะ สนับสนุนวิชาการ สนับสนุนทั่วไป ตำแหน่งสนับสนุนทั่วไป (ช่วยปฏิบัติการ) (ปฏิบัติการ)

ประเมินตนเอง ปฏิบัติงานในตำแหน่งอะไร ทำงานมาแล้วกี่ปี ผ่านเกณฑ์ ?? ปฏิบัติงานในตำแหน่งอะไร ทำงานมาแล้วกี่ปี ผ่านเกณฑ์ ?? ตรวจสอบผลงานที่ผ่านมาย้อนหลัง 3 ปี 1.ผลงานวิจัยตีพิมพ์ ?? 2.ผลงานอื่นๆ ??

ครั้งที่ 1 ที่เสนอขอตำแหน่งชำนาญการ ผลงานที่ปฏิบัติ สาขาวิจัย การปฏิบัติงาน ครั้งที่ 1 ที่เสนอขอตำแหน่งชำนาญการ เป็นช่วงจัดตั้งหน่วยวิจัยใหม่ เป็นบุคลากรคนแรกของหน่วย มีการจัดหาอุปกรณ์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ สำหรับบริการงานวิจัยแก่คณาจารย์ของคณะฯ ถัดมาเริ่มทำงานวิจัยร่วมกับคณาจารย์ จนมีผลงานร่วมวิจัย 6 ผลงานวิจัย ประเมินตนเองแล้ว คิดว่าสามารถส่งขอตำแหน่งชำนาญการ (ข้าราชการ)

เป็นผู้ดำเนินการวิจัยหลัก และมีส่วนร่วมในผลงานวิจัย ไม่ต่ำกว่า 50 % 4.ผลประเมินจากมหาวิทยาลัย ผลงานวิจัยไม่ผ่านเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนดเพราะอะไร ??????? 5.จากนั้นเริ่มทำงานวิจัย ศึกษางานวิจัยที่สนใจอยากทำ ใช้เวลาประมาณ 2-3 ปี ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยจำนวน 2 เรื่อง ดังนี้ คือ เป็นผู้ดำเนินการวิจัยหลัก และมีส่วนร่วมในผลงานวิจัย ไม่ต่ำกว่า 50 % เป็น Corresponding Author และมีส่วนร่วมในผลงานวิจัย 70 % 6. ครั้งที่ 2 จึงเสนอขอตำแหน่งชำนาญการใหม่ ผ่าน เกณฑ์ที่กำหนด

สาขาวิจัย (ผู้ปฏิบัติงานวิจัย, เจ้าหน้าที่วิจัย, นักวิจัย) ข้าราชการ ประเมินผลงานวิจัย สาขาวิจัย (ผู้ปฏิบัติงานวิจัย, เจ้าหน้าที่วิจัย, นักวิจัย) ข้าราชการ ผลงานวิจัยตีพิมพ์จะต้องเป็นชื่อแรก หรือ เป็นผู้ดำเนินการวิจัยหลัก และมีส่วนร่วมในผลงานวิจัยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 จำนวน 2 เรื่อง ผลงานวิจัยที่เป็นผู้ร่วมวิจัย โดยไม่คิดค่าน้ำหนัก จำนวน 6 เรื่อง

พนักงานมหาวิทยาลัย ผลงานวิจัยอย่างน้อย 3 เรื่อง คู่มือปฏิบัติงาน หรือ งานวิเคราะห์ ผลงานวิจัย เป็นชื่อแรก หรือ ผู้ดำเนินการวิจัยหลัก ไม่คิดค่าน้ำหนักของผลงานวิจัย จำนวน 1 เรื่อง ผลงานวิจัยที่เป็นผู้ร่วมวิจัยไม่คิดค่าน้ำหนักของผลงานวิจัย อีก 1 เรื่อง

ปัจจัย 3 สิ่งของการพัฒนาตนเองสู่ “ความสำเร็จ” วิธีคิด : อันดับแรกต้องเริ่มมองดูตัวเอง โดยต้องเริ่มคิดใหม่ ทำใหม่ หาช่องทางใหม่ๆ วิธีพิจารณา : รู้จักพิจารณาและให้ความหมายใหม่ เพื่อดึงประโยชน์ออกมาใช้ การฝึกฝน : ความรู้ทุกอย่างต้องการฝึกฝน ฝึกปฏิบัติ

Thank You