การเขียนหุ่นนิ่งรวม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การเขียนภาพวาดเส้น.
น้ำหนักแสงเงา.
น้ำหนักแสงเงาหุ่นนิ่ง
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
การเขียนรูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
ผู้ผลิต นายเชิดชัย ประโปตินัง ตำแหน่ง ครู คศ. 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
รูปร่างและรูปทรง.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
Points, Lines and Planes
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
Basic Graphics by uddee
By…Porta Boonyatearana
การวางแผนและการดำเนินงาน
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
ระบบอนุภาค.
บทที่ 4 การตกแต่งแผ่นงาน
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
นางสาวอรปรียา พ่างจันทร์ เลขที่ 26
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
Background / Story Board / Character
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คู่มือการใช้งาน P OWER P OINT 2007 ฉบับนักเรียน.
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
CorelDRAW 12.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
กล้องโทรทรรศน์.
การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนหุ่นนิ่งรวม

โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ ศ 41201 การเขียนภาพวาดเส้น โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง - ให้ผู้เรียนประยุกต์และนำวิธีการลงน้ำหนักมาใช้เปรียบเทียบแสงเงาของวัตถุมาสร้างสรรค์ ถ่ายทอดเป็นผลงานได้

การเขียนหุ่นนิ่งรวม ในการเขียนภาพวาดเส้นภาพหุ่นนิ่งรวม คือการเขียนวัตถุหลายชิ้นรวมกัน สิ่งแรกที่จะทำให้ภาพวาดดูดีและน่าสนใจ ควรเริ่มจากการจัดวางวัตถุ ในการจัดหุ่นนิ่งที่เป็นแบบหัดเขียนเริ่มแรกสำหรับผู้หัดเขียน ควรเริ่มจากการใช้รูปทรงเรขาคณิต จำนวน 3 – 4 ชนิด มาจัดวาง โดยศึกษารูปทรงต่างๆ ในเรื่องของขนาดความสูง และความกว้าง

มุมมอง ก่อนเริ่มการเขียนผู้เรียนควรศึกษา หุ่น และมองหุ่นที่เป็นแบบโดยรอบ เลือกมุมมองในการเขียนภาพที่ดูแล้วไม่ยากเกินไป การเรียงของหุ่นเหมาะสมจากด้านหลังสูงมาด้านหน้าต่ำ และมีความสมดุล มีลักษณะเด่น แตกต่างจากมุมอื่น หรือมีลวดลายที่น่าสนใจ เพื่อช่วยให้ภาพเกิดความเป็นระยะ

การร่างภาพ (Sketch) เป็นการเขียนหรือวาดรูปด้วยเส้นเบาๆ ทั้งภายในและภายนอกรูปร่าง

การวัดสัดส่วนในการวาดเส้น หมายถึง การเปรียบ เทียบขนาดทั้งความยาว ความกว้าง และความสูงของรูปทรงหนึ่งกับอีกรูปทรงหนึ่ง ทำได้โดยอาศัยดินสอที่ใช้วาดภาพเป็นเสมือนไม้บรรทัดในการวัดโดยการยื่นมือออกไปให้สุด จับดินสอให้ตั้งฉากหรือขนานกับพื้นใช้นิ้วหัวแม่มือเลื่อนขึ้นลง เพื่อวัดความกว้างความสูงของรูปทรงนั้น แล้วเปรียบเทียบกับสัดส่วนวัตถุใกล้เคียง นำสัดส่วนที่ได้มาเทียบลงบนกระดาษ โดยการย่อหรือขยายจากหุ่น

การวัดสัดส่วนในการวาดเส้น

กำหนดเส้นแกนของวัตถุแต่ละชิ้น และร่างเส้นโครงสร้างง่าย ๆ โดยการพิจารณาสัณฐานของวัตถุแต่ละชิ้นว่ามีรูปร่างอย่างไร เช่น สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม หรือวงกลม เป็นต้น การใช้เส้นแกนและเส้นโครงร่างนี้ จะช่วยให้เราสามารถกำหนดขอบเขตของภาพทั้ง หมดได้ และช่วยให้การใส่รายละเอียดของภาพง่ายและรวดเร็วขึ้น

การใช้เส้นแกนและเส้นโครงร่าง

การร่างรายละเอียดของภาพให้เหมือนจริงก่อนการแรเงา เริ่มต้นจากการร่างเส้นง่ายๆไปสู่รูปทรงที่เหมือนจริงตามแบบที่ปรากฏอย่างเป็นขั้นตอน พิจารณาตรวจเช็ครายละเอียด หรือตรวจทานเปรียบเทียบขนาด และสัดส่วนให้ถูกต้องด้วยสายตา โดยการเปรียบเทียบสัดส่วนกับวัตถุใกล้เคียงรูปทรงหนึ่งกับอีกรูปทรงหนึ่ง แล้วแก้ไขให้ถูกต้องก่อนการปฏิบัติการแรเงา

การร่างรายละเอียดของภาพ

การร่างภาพแต่ละครั้ง ควรร่างด้วยน้ำหนักเส้นที่เบา เมื่อต้องมีการแก้ไขก็จะได้ร่างเส้นใหม่ทับลงไปได้เลย โดยไม่ต้องลบเส้นเก่าทิ้ง เพราะเมื่อลงน้ำหนักแสงเงาน้ำหนักต่างๆ จะกลบเส้นที่ร่างผิดให้กลมกลืนกันกับภาพเอง ดังนั้น จึงไม่ควรใช้น้ำหนักการร่างภาพให้เข้ม หรือเมื่อผิดพลาดอาจต้องใช้ยางลบ ซึ่งการลบบ่อยครั้งจะทำให้กระดาษช้ำเป็นขุย และผลงานที่ออกมาก็จะดูสกปรกด้วย