ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
ชื่อเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 5 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2546 โดยใช้แบบประเมินตนเอง(SDQ)
งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
ปัญหาการวิจัย เรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
การเขียนรายงานการวิจัย
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การใช้ผลการสอบขับเคลื่อนการ จัดการเรียนการสอน 1. วิเคราะห์ผลการทดสอบ ระดับชาติ (NT, O-NET) H 1 คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ S.D. น้อยกว่าระดับประเทศ H.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
รายงานผลการวิจัย.
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา งานวิจัยในชั้นเรียน ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา

ผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2546

จุดประสงค์ 1.เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2.เพื่อทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน 3.เพื่อศึกษาผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน

สมมุติฐาน นักเรียนที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ มีคะแนนความคิดสร้างสรรค์เพิ่มมากขึ้นกว่าก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์

ขอบเขตการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2546 จำนวน 265 คน ซึ่งทำการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ได้นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง 44 คน

ตัวแปรอิสระ ชุดกิจกรรมแนะแนว ตัวแปรตาม ความคิดสร้างสรรค์

นิยามศัพท์เฉพาะ ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถของนักเรียนในการคิดได้จำนวนมาก หลายทิศทาง มีความแปลกใหม่ มีคุณค่า โดยนักเรียนสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือปัญหาในด้านปริมาณ ความแปลกใหม่ ความหลากหลาย ไม่ซ้ำ ไม่จำเจ และมีรายละเอียด ความคิดสร้างสรรค์ที่ศึกษาประกอบด้วยความคิด 2 ลักษณะ คือ

1.1.ความคิดริเริ่ม หมายถึง ความสามารถของนักเรียนในการคิดตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือต่อปัญหาได้แปลกใหม่ แตกต่างจากคนอื่น และมีคุณค่า 1.2.ความคิดละเอียดละออ หมายถึง ความสามารถของนักเรียนในการคิดตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือต่อปัญหาในการตกแต่งให้รายละเอียดเพื่อให้เกิดเป็นภาพหรือความคิดที่ชัดเจนสมบูรณ์

ชุดกิจกรรมแนะแนว หมายถึง ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นประกอบด้วยกิจกรรม 7 กิจกรรม ซึ่งมีทั้งกิจกรรมรายบุคคลและรายกลุ่ม เนื้อหาที่ใช้ในกิจกรรมเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์อย่างเต็มที่

วิธีดำเนินงานวิจัย ขั้นเตรียม - ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นเตรียม - ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นสร้าง - สร้างชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ - สร้างแบบทดสอบความคิดสรรค์ โดย ปรับปรุงจาก แบบทดสอบความคิดสร้าง สรรค์ โดยอาศัยรูปภาพแบบ ก (Torrance Test of Creative Thinking Figural Form A)ของทอแรนซ์ ซึ่งได้แปลและปรับปรุงโดย ดร.อารี รังสินันท์

ขั้นทดลอง 1. ทำการทดสอบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนก่อนการทดลอง โดยใช้แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ที่สร้างขึ้น 2. ดำเนินการทดลองใช้ชุดกิจกรรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง 1 ภาคเรียน โดยใช้เวลาในชั่วโมงกิจกรรมแนะแนว สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 3. ทำการทดสอบหลังการทดลอง โดยใช้แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ชุดเดียวกับข้อที่ 1

การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัย นักเรียนมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์หลังจากการทดลองเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนการทดลองซึ่งสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้

แผนภูมิเปรียบเทียบคะแนนความคิดสร้างสรรค์ก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม

แผนภูมิเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม

แผนภูมิเปรียบเทียบร้อยละของคะแนนเฉลี่ยก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม

ซึ่งแสดงว่า ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สามารถพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนได้

ขอบคุณค่ะ