งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง

2 สถิตเชิงบรรยาย 1. การหาค่าร้อยละ 2. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
1. การหาค่าร้อยละ 2. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3. การวัดการกระจาย 4. การหาความสัมพันธ์ 5. การเปรียบเทียบข้อมูล

3 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
1. มัชฌิมเลขคณิต 2. มัธยฐาน 3. ฐานนิยม

4 การวัดการกระจาย 1. พิสัย 2. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3. ความแปรปรวน

5 การหาความสัมพันธ์ 1. สหสัมพันธ์อย่างง่าย 2. สหสัมพันธ์เชิงอันดับ

6 การแจกแจงความถี่ 1. ตาราง 2. กราฟวงกลม 3. กราฟแท่ง 4. กราฟเส้น

7 การเปรียบเทียบข้อมูล
1. คะแนนมาตรฐาน 2. เปอร์เซนไทล์

8 สถิติเชิงอ้างอิง 1. การประมาณค่า 2. การทดสอบสมมติฐาน

9 การประมาณค่า 1. การประมาณค่าแบบจุด 2. การประมาณค่าแบบช่วง

10 การทดสอบสมมติฐาน 1. ค่าเฉลี่ย 2. สัมประสิทธิสหสัมพันธ์
1. ค่าเฉลี่ย 1.1 ค่าเฉลี่ย 1 ค่า 1.2 ค่าเฉลี่ย 2 ค่า 1.3 ค่าเฉลี่ยมากกว่า 2 ค่า 2. สัมประสิทธิสหสัมพันธ์

11 ต่อ 3. การทดสอบไคสแควร์ 3.1 การทดสอบภาวะสารูปสนิทดี
3. การทดสอบไคสแควร์ 3.1 การทดสอบภาวะสารูปสนิทดี 3.2 ความเป็นอิสระในตารางการณ์จร

12 การเลือกใช้สถิติเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย
1. จุดประสงค์ในการวิเคราะห์ข้อมูลคืออะไร 2. กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษามีกี่กลุ่ม 3. ข้อมูลที่วิเคราะห์จัดอยู่ในระดับใด 4. ตัวแปรในการวิจัยครั้งนี้มีกี่ตัว

13 สมมติฐาน 1. สมมติฐานการวิจัย 2. สมมติฐานทางสถิติ

14 สมมติฐานทางสถิติ H0 Null Hypothesis H1 Alternative Hypothesis

15 ตัวอย่างสมมติฐานทางสถิติ
1. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ค่า

16 2. ทดสอบค่าเฉลี่ย 2 ค่า

17 3. ทดสอบค่าเฉลี่ยน 3 ค่าขึ้นไป

18 ระดับความมีนัยสำคัญ (a)
คือ โอกาส (ค่าความน่าจะเป็น” ที่จะ ตัดสินใจผิดพลาด ในการปฏิเสธ H0 โดยที่ H0 เป็นความจริง

19 รูปแบบการเสนอรายงานวิจัย
1. เอกสารรายงานการวิจัย 2. บทความวิจัย 3. บทคัดย่อ

20 เอกสารรายงานการวิจัย
เป็นรายงานวิจัยที่จัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม มีเนื้อหาสาระครบถ้วน แสดงให้เห็นถึงความ เป็นมา / ความสำคัญของปัญหาการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง วิธีการดำเนินการวิจัยโดยละเอียดและผลการวิจัยที่ได้

21 เอกสารรายงานการวิจัย
แบ่งเป็น 3 ส่วนสำคัญ 1. ส่วนนำ 2. ส่วนเนื้อเรื่อง 3. ส่วนอ้างอิง

22 ส่วนนำ ประกอบด้วย - ปก - หน้าชื่อเรื่อง หรือ ปกใน
ส่วนนำ ประกอบด้วย - ปก - หน้าชื่อเรื่อง หรือ ปกใน - คำนำ / กิตติกรรมประกาศ - บทคัดย่อ - สารบัญ

23 ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย
- บทนำ - วิธีดำเนินการวิจัย - ผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ

24 บทนำ ประกอบด้วย - ความเป็นมา/ความสำคัญของปัญหาวิจัย - วัตถุประสงค์
บทนำ ประกอบด้วย - ความเป็นมา/ความสำคัญของปัญหาวิจัย - วัตถุประสงค์ - วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง - สมมติฐานการวิจัย - ขอบเขตการวิจัย - ประโยชน์ที่ได้รับ - นิยามศัพท์

25 วิธีดำเนินการวิจัย ครอบคลุม
วิธีดำเนินการวิจัย ครอบคลุม - ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - วิธีการรวบรวมข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ - การวิเคราะห์ข้อมูล

26 ผลการวิจัย ครอบคลุม - วิธีดำเนินการวิจัยอย่างย่อ - ผลการวิจัยโดยสรุป
ผลการวิจัย ครอบคลุม - วิธีดำเนินการวิจัยอย่างย่อ - ผลการวิจัยโดยสรุป - การอภิปรายผลการวิจัย - ข้อเสนอแนะจากการวิจัย

27 ส่วนอ้างอิง ประกอบด้วย
ส่วนอ้างอิง ประกอบด้วย - เชิงอรรถ - บรรณานุกรม - ภาคผนวก - ประวัติผู้วิจัย

28 (วารสารแต่ละฉบับอาจแตกต่างออกไป)
บทความวิจัย เป็นการปรับย่อรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ให้เหมาะสมกับการนำไปตีพิมพ์ ในวารสารทางวิชาการ ซึ่งโดยทั่วไปจะมีความยาวไม่เกิน 15 หน้า (วารสารแต่ละฉบับอาจแตกต่างออกไป)

29 บทความวิจัย ควรประกอบด้วย
บทความวิจัย ควรประกอบด้วย - ชื่อเรื่อง - ประวัติย่อของผู้วิจัย - บทคัดย่อ - เนื้อหาของบทความ - ส่วนท้าย

30 เนื้อหาของบทความ ครอบคลุม
เนื้อหาของบทความ ครอบคลุม - บทนำ - วิธีวิจัย - ผลการวิจัย - สรุปและข้อเสนอแนะ


ดาวน์โหลด ppt สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google