-การหันไปสู่เศรษฐกิจการตลาด อย่างหนักแน่น Lao-link ยุทธศาสตร์เพิ่มการเจริญเติบโตและลบล้างความทุกข์ ยากแห่งชาติ พย 2004 -การหันไปสู่เศรษฐกิจการตลาด อย่างหนักแน่น -การพัฒนาระบบพื้นฐาน โครงร่างในประเทศ -การยกระดับชีวิตการเป็นอยู่ของบันดาประชาชน ให้ดีขึ้นเป็นก้าวๆ
โดยรับประกันด้านเสบียงอาหาร การขยายการบริการ ด้านสังคมต่างๆ และการปกปักรักษาสิ่ง แวดล้อม พร้อมทั้งยกสูงจิตใจและส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณี อันดีงานของประชาชนเผ่าต่างๆ
เป้าหมายรวมยุทธศาสตร์ชาติ การลบล้างความทุกข์ยากอยู่ชนบท วิถียุทธศาสตร์ โดยการกระตุ้น
แก่นของการพัฒนาชนบทของยุทธศาสตร์การลบล้างความทุกข์ยาก ของ 2 พลังความเชื่อมั่น 3 ทุนรวม 1 บริการ การพัฒนาศักยภาพมนุษย์และการมีส่วนร่วมของประชา(ปกครองและเสมอภาค 1 เสริมสร้างชาวกสิกรรมให้ทำการผลิต 2 กองทุนบ้านและเมือง ส่งเสริม ทุน จัดการภายใน 3 การบริการสังคม 1 การศึกษาขั้นประถมและมัธยม 2 การักษาสุขขั้นต้น 3 การรักษาสุขภาพแม่และเด็ก 4 มีน้ำสะอาดใช้ 5 ใช้ส้วม แก่นของการพัฒนาชนบทของยุทธศาสตร์การลบล้างความทุกข์ยาก ของ สปป ลาว 4 ด้านการสนอง ผลของการผลักดัน ด้านความต้องการ ผลของการเข้าถึง การทำให้ใช้เทคโนโลยี/ปัจจัยการผลิตที่ยั่งยืน 1 ผลิตทางกสิกรรม 2 การเลี้ยงสัตว์และประมง 3 ธุรกิจชนบท 4 ชลประทาน 5 ทรัพยากรธรรมชาติรวมการเก็บกู้ระเบิด ตลาด 1 ท้องถิ่นและพากพื้น 2 มีเส้นทางออกสู่ชนบท 3การสนองข้อมูลการตลาด 4 การค้าและการส่งเสริมการลงทุน 5 การทำธุรกิจกสิกรรมและ ชาวไรชาวนา
กระบวนการยุทธศาสตร์แก้ไขความยากจน แผนยุทธศาสตร์แก้ความยากจน แผนดำเนินงานเพื่อการเติมโต โครงสร้างการพัฒนาเพื่อลบล้างความยากจน การประเมินความทุกยากอย่างละเอียด- สร้างนโยบายและยุทธศาสตร์ดังนี้ -การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยให้ เจริญเติมโตอย่างยั่งยืน การพัฒนาและลบ ล้างความยากจน การมีเสถียรภาพทางด้าน เศรษฐกิจมหภาคส่งเสริมภาคเอกชนแล การปกครองคือ 4 แนวทางต้นตอ -แขนงการสนับสนุนต่างๆ -แขนงการระดับล่าง -แผนงานลบล้างความยากจน -การพัฒนาชนบทที่เอาชุมชน เป็นจุดศูนย์กลาง ในเมืองที่ทุกข์ ยากที่สุด - การกลมเกลียวกันระหว่าง แขนงและการลงทุน ทรัพยากร เพื่อบรรลุ เป้าหมายเฉพาะ -ยืดถือการปรึกษาหาลือและการ มีส่วนร่วม กระบวนการยุทธศาสตร์แก้ไขความยากจน เป้าหมาย 2020 วิสัยทัศ /จ ปีข้างหน้า เป้าหมาย 10 ปี 8 แผนงาน -การรับประกันทางเสบียงอาหาร -การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การเติบโตอย่างเสมอภาค แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม 5 ปี(01-05) กองประชุมใหญ่พรรค 1996 และ 2000
ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยง การประเมินทางยุทธศาสตร์ เงื่อนไขที่จำเป็น สี่แขนงต้นตอ -สิทธิพิเศษ -แขนงการระดับล่าง แขนงการสนับสนุน แผนงานแห่งชาติ การพัฒนาชนบท 47 เมืองทุกข์ยาก การคุ้มครองบริการรัฐที่เข้มแข็ง แขนงแขนงการคุ้มครองรัฐ การมีส่วนร่วม การสร้างสิ่งแวดล้อมให้เอื้ออำนวย
ผลรับสุดท้าย การผสมผสานเข้ากันทั้งประเทศ ยกสูงระดับชีวิตและความเป็น อยู่ของประชนชนลาวให้ดีขึ้น การเติบโตเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค การรับประกันด้านเสบียงอาหาร ลบล้างความทุกข์ยาก 2010 การปกปักรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ หลุดออกจากประเทศด้อย พัฒนาอย่างสิ้นเชิง2020 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
อำนาจ/อิทธิพล ธารน้ำแข็ง อนุภูมิภาค
ที่เคยไป
ขอนแก่น แม่สอด ดานัง อุบลราชธานี Gulf of Thailand หลวงพระบาง หนองคาย Haiphong Stung Treng Mae Sai Hanoi Huai Sai หลวงพระบาง Pakse Poipet Siem Reap Trat Koh Kong Ha Tien Svay Rieng Petchaburi Phuket Songkhla Attapeau อุบลราชธานี Gulf of Thailand นครราชสีมา หนองคาย ขอนแก่น แม่สอด ดานัง
Till 2015 ADB committed to completion
ฐานอำนาจ อินเดีย ? เพื่อนฐานเศรษฐกิจที่ต้องจำยอม จีน เพื่อนที่ตกหลุมพรางตัวเอง พม่า เพื่อนทุกข์เพื่อนยาก เพื่อนอุดมการณ์ เวียดนาม เพื่อนทางวัฒนธรรม ไทย ประชากร เทคโนโลยี/อาวุธ วัฒนธรรม แรงงาน ขนส่ง ตลาด ความรวดเร็ว ประวัติศาสตร์ G to G อื่นๆ ภัยธรรมชาติ โรค ยากจนแต่รวยทรัพยากร เพื่อนทางเศรษฐกิจที่อยากมีส่วนได้เสีย อื่นๆ One ASEAN
สะพาน เราจะเตรียมตัวเพื่อเตรียมตัวได้อย่างไร? หน้าที่ใครบ้าง? เราได้พูดกันมานานพอสมควร วิจัยแล้วจะเกิดปฏิบัติการหรือไม่? คำถามที่น่าสนใจ อะไรไหลข้าม? มาจากไหน? ไปไหน? ใครได้ใครเสีย ทำให้เกิดปฏิบัติการจริงได้อย่างไร?
อุปโภค บริโภค วัฒนธรรม สารสนเทศ เงิน เทคโนโลยี การจัดการ พลังงาน อาหาร อุปโภค บริโภค วัฒนธรรม สารสนเทศ เงิน เทคโนโลยี การจัดการ ทรัพยากร วัสดุ นโยบาย คน ค่านิยม ปัจจุบันมีไหลอยู่แล้ว แต่ต้องการทั้งยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี แผน และแรงใจกับเมตตา จะให้เกิดการก้าวหน้าของมนุษย์