วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
นางสาวจุฬาศิณี วิสุทธิไพศาล ผู้ทำวิจัย
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย : นายสุพัฒน์ กลัดสมบุญ
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ในรายวิชา การบัญชีตั๋วเงินของ นักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยี พณิชยการเชียงใหม่
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.

โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม

วิธีการสอนแบบกระบวนการเสนอ ด้วยข้อมูลมีความแตกต่าง โดย นางสาวธนภรณ์ นาวินวิจิต วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (M-BAC)
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ระดับ ปวส.1 แผนกวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ในรายวิชาการบริหารธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อม กัลยา ศิรินันทา วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การจัดการแผนการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ซึ่งเป็นการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ใช้วิธีแบบจัดกลุ่มผู้เรียน โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนประมาณ 4-5 กลุ่ม และในแต่ละกลุ่มจะต้องมีทั้งคนเก่ง ปานกลาง และคนอ่อน เพื่อจะได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รวมทั้งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงการทำงานเป็นกลุ่ม เกิดความสามัคคี และยังเกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ซึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD มีประสิทธิภาพก็คือ รางวัลที่ได้จากการที่มีคะแนนสะสมของกลุ่มมากที่สุด

เป็นสิ่งที่ทำให้แต่ละกลุ่มเกิดการช่วยเหลือหรือมีความสามัคคีกันภายในกลุ่ม ทำให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียนและยังเป็นการดูแลกัน เกิดความสัมพันธ์และมิตรภาพภายในกลุ่ม รวมถึงทำให้ผู้เรียนได้ความรู้ จากการช่วยเหลือของเพื่อนร่วมกลุ่ม ซึ่งการสอนกันเองของผู้เรียนทำให้เกิดความสบายใจ และรับรู้ได้อย่างรวดเร็ว เกิดประสิทธิภาพในการเรียนของผู้เรียน เพื่อนำไปได้ต่อไปในอนาคต จากการเรียนการสอนรายวิชาการบริหารธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อม จะต้องให้ความสำคัญในเรื่องการมีส่วนร่วมและสามารถทำงานร่วมกันผู้อื่นได้ เพราะถ้ากล่าวถึงอาชีพด้านการตลาด เป็นอาชีพที่ทำงานร่วมกันบุคคลอื่น

จากเหตุผลดังกล่าวทำให้ผู้วิจัยมีความสนใจในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD เข้ามาใช้ในการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดของผู้เรียน โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญและพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา และสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาอื่นต่อไปอย่างประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาการบริหารธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อม โดยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาก่อนและหลังเรียน โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาการบริหารธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อม โดยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD 3. เพื่อศึกษาความความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนรายวิชาการบริหารธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อม โดยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD

การจัดการเรียนรู้ แบบกลุ่มร่วมมือ STAD กรอบแนวคิดในการวิจัย การจัดการเรียนรู้ แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ความพึงพอใจของนักศึกษา

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่นักศึกษาระดับชั้น ปวส. 1/3 แผนกวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ที่เรียนรายวิชาการบริหารธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 6 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาการบริหารธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อม โดยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD แบบทดสอบวัดผลผลสัมฤทธิ์ การบริหารธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อม แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดย่อม โดยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD

สรุปผลการวิจัย 1. ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการบริหารธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อมโดยใช้การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD มีประสิทธิภาพ 77.81/88.75 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. ดัชนีประสิทธิของการจัดการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการบริหารธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อมโดยใช้การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD เท่ากับ 0.6742 หรือคิดเป็นร้อยละ 67.42

3. นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการบริหารธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อมโดยใช้การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน 4. นักศึกษาที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการบริหารธุรกิจค้าปลีกขนาดย่อมโดยใช้การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD มีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ในภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด

ภาพหลักฐานประกอบการวิจัย

ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้ศึกษาได้ค้นคว้าพัฒนาขึ้น ทำให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจมากขึ้นและได้มีประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้ศึกษาควรนำแผนการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาความรู้ทักษะวิชาชีพทางแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ไปใช้ กับนักศึกษาในระดับอื่นด้วย 2. ควรจัดกลุ่มนักศึกษาให้คละความสามารถอย่างชัดเจนตามเนื้อหาการเรียนรู้ที่สอน เพื่อให้สมาชิกเกิดพฤติกรรมกลุ่มร่วมมือในการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อ การเรียนการสอน

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ในการเรียนรู้ ในเนื้อหาอื่น หรือระดับชั้นอื่นๆ 2. ควรมีการเปรียบเทียบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นไปสอน เปรียบเทียบกับวิธีสอนอื่นๆ ในเนื้อหาเดียวกันและชั้นเดียวกัน เพื่อจะได้เป็นการส่งเสริมและ หาแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล ต่อไป 3. ควรมีการศึกษาค้นคว้าในเรื่องเดียวกันนี้ แต่ให้กลุ่มทดลองเปรียบเทียบกับ การทดลองสับเปลี่ยนกลุ่มศึกษากับกลุ่มใหม่ไปเรื่อย ๆ เพื่อให้ได้ผลเปรียบเทียบกับการทดลอง กลุ่มเดิมว่ามีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นกว่าเดิมหรือไม่