การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ในรายวิชา การบัญชีตั๋วเงินของ นักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยี พณิชยการเชียงใหม่
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
LOGO การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนการ สอนในราย วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 (3201 – 2004) เรื่องการบันทึกบัญชีที่ไม่สมบูรณ์ ของนักศึกษาระดับ ชั้น ปวส.2 สาขาการบัญชี
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ เรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ นางสาวจิราภรณ์ อารยะศิลปธร

Purposes of the Study 1. 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการเรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ ของนักศึกษาระดับปวช. 2/5 สาขาการตลาด โดย การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียน วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ เรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ ของนักศึกษาระดับปวช. 2/5 สาขาการตลาด โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ เรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ ของนักศึกษาระดับปวช. 2/5 สาขาการตลาด โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD วัตถุประสงค์ของการศึกษา

Scope of Research ขอบเขตการวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ด้านเนื้อหา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการจัดการเรียนรู้แบบใช้การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD เรื่องปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ ด้านเนื้อหา ขอบเขตประชากร ได้แก่ นักศึกษาระดับชั้นปวช.2 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ จำนวน 270 คน ประชากร นักศึกษาระดับปวช. 2สาขาวิชาการตลาด จำนวน 36 คนจากการสุ่มแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่าง ขอบเขตการวิจัย

การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD Conceptual Framework ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วย 1) ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือ โดยใช้เทคนิค STAD 2) ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ และความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD การเรียนการสอนแบบกลุ่มร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ 2. ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียน กรอบแนวคิด

Research Results ผลการตรวจสอบประสิทธิภาพ (E1/ E2) ของการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD รายการทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ แบบฝึกหัดระหว่างเรียน (E1) 20 15.38 76.90 แบบทดสอบหลังเรียน (E2) 10 7.61 76.10 ผลการวิจัย

Research Results ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มทดลอง ผลการวิจัย (โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS)

ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน Research Results ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของกลุ่มทดลอง การทดสอบ N X S.D. t Sig. ก่อนเรียน 36 5.56 1.52 หลังเรียน 7.61 0.99 8.989 0.000** ผลการวิจัย

ผลการศึกษาความพึงพอใจ Research Results ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ผลการศึกษาความพึงพอใจ จำนวน (ข้อ) 10 ค่าเฉลี่ย 4.14 ระดับความพึงพอใจ มาก ผลการวิจัย

Research Results สรุปผลการวิจัย ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนแบบร่วมมือ เทคนิคการแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกมร่วมกับแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างและพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพเฉลี่ยร้อยละ 76.9/76.1 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มทดลองด้วยนักศึกษากลุ่มทดลองวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ เรื่อง ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ค่าเฉลี่ยคะแนนทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนมีค่ามากกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สรุปผลการวิจัย

Research Results ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือSTAD โดยรวมอยู่ในระดับมาก 1. ด้านการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือทำให้ผู้เรียนกระตือรือร้น 2. ด้านนักเรียนรู้สึกดีที่ได้ช่วยเหลือเพื่อน หรือได้รับการช่วยเหลือจาก เพื่อน 3. ด้านนักเรียนรู้สึกยินดีที่เพื่อนๆ ในชั้นเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหา แม่นยำขึ้น

Suggestion ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ ควรนำกระบวนการเรียนการสอนแบบ STAD ไปศึกษากับกลุ่มตัวอย่างอื่น เช่น นักศึกษาระดับชั้นปวส. ซึ่งเป็นวัยที่พร้อมรับการเรียนรู้ เพื่อฝึกกระบวนการทำงานกลุ่ม และช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อไป ควรมีการเปรียบเทียบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นไปสอนเปรียบเทียบกับวิธีสอนอื่นๆ ในเนื้อหาเดียวกันและชั้นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผลต่อไป การจัดกลุ่มผู้เรียนสำหรับการสอนแบบกลุ่มร่วมมือ ผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องตรวจสอบข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างให้ละเอียด เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่คละความสามารถจริงๆ คือ ได้คนเก่ง คนปานกลาง และคนอ่อน ที่มีความสามารถแตกต่างกันชัดเจน ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ

ขอบคุณค่ะ