นโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยของประเทศ นโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยของประเทศ โดย นายแพทย์สุริยะ วงศ์คงคาเทพ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
4 ประเด็นที่สำคัญในการดำเนินการด้านอาหาร ความมั่นคงทางอาหาร (Security) คุณค่าของอาหาร (Quality) ความปลอดภัย (Safety) อาหารศึกษา (Education)
นโยบายระบบบูรณาการอาหารปลอดภัย 2558 คณะรัฐบาล นโยบายของคณะรัฐมนตรี ข้อที่ 5 การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุขและ สุขภาพประชาชน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ข้อ 3.2 เน้นการโภชนาการและอาหารปลอดภัย
ประเด็นนโยบายและมาตรการอาหารปลอดภัย ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 2558 ตามมติ วันที่ 3 เมษายน 2558 นมโรงเรียน เกลือไอโอดีน ผักสดและผลไม้ เนื้อหมู ไก่ น้ำดื่มและน้ำแข็ง สถานประกอบการด้านอาหาร
นโยบายรัฐบาลและนโยบายการขับเคลื่อน อาหารปลอดภัยระหว่างประเทศ นโยบายครัวไทยสู่โลก INFOSAN (International Food Safety Authority Networks) IHR (International Health Regulation)
มาตรการการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ปี 2559 บูรณาการให้แหล่งผลิตอาหาร (การเกษตร) ทำการผลิตอาหารที่ปลอดภัย จากสารเคมี บูรณาการให้สถานที่ตัดแต่ง OTOP และโรงงานผลิตอาหารต้องได้ มาตรฐานและคุณภาพต่อการบริโภคภายในประเทศ และส่งออก ผลักดันกฎหมายให้เร่งรัดการดำเนินงานควบคุมแหล่งจำหน่าย กระจาย อาหารที่สำคัญให้มีมาตรฐานด้านคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร ส่งเสริม สนับสนุน เร่งรัด ให้แหล่งบริการด้านอาหารทั้งประเทศ มีคุณภาพและมาตรฐานให้ทัดเทียม ภูมิภาคและเป็นผู้นำด้านความ ปลอดภัยของอาหาร รณรงค์ ส่งเสริม สื่อสาร การดูแลการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านอาหาร ปลอดภัยทั้งระบบ
กิจกรรมที่สำคัญ ปี 2559 การส่งเสริมและรณรงค์อาหารปลอดภัยตลอดทั้งห่วงโซ่ เพื่อเทิดไท้ องค์ราชัน องค์ราชินีและเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ เร่งรัดการขับเคลื่อนระบบอาหารปลอดภัยทั้งระบบในพื้นที่ผ่านเครือข่าย ประชาคมอาหารปลอดภัย การพัฒนายุทธศาสตร์และมาตรการอาหารปลอดภัย รองรับนโยบาย ครัวไทยสู่ โลกและ One Single window พัฒนาระบบการรับรอง และควบคุมคุณภาพ ให้ได้มาตรฐาน IHR พัฒนาระบบร่วมเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยภูมิภาค ทั้งในและระหว่างประเทศ ผ่านด่านชายแดน และอาศัยระบบ INFOSAN พัฒนาความร่วมมือ ด้านอาหารปลอดภัยในอาเซียนและภูมิภาคตามอนุสัญญา ต่างๆ ที่มีผลต่อระบบอาหารของประเทศ
จบการนำเสนอ