งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
ณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ

2 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน
คำนิยาม สูงดีสมส่วน เด็กที่มีความยาวหรือส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไปและมีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน (ในคนเดียวกัน) แบบที่ 1 แบบที่ 2 แบบที่ 3 นางณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

3 เกณฑ์เป้าหมาย เกณฑ์การประเมิน
ตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 1. ร้อยละเด็กสูงดีสมส่วน 54 57 60 63 2. ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี - เด็กชาย (เซนติเมตร) - เด็กหญิง (เซนติเมตร) - 113 112 เกณฑ์การประเมิน รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน ร้อยละ 51 ร้อยละ 52 ร้อยละ 53 ร้อยละ 54

4 การคำนวณตัวชี้วัด รายการข้อมูล 1 A1 = จำนวนเด็กอายุ 0-5 ปีสูงดีสมส่วน
รายการข้อมูล 2 A2 = ผลรวมของส่วนสูงของประชากรชายอายุ 5 ปีที่ได้รับการวัดส่วนสูง รายการข้อมูล 3 A3 = ผลรวมของส่วนสูงของประชากรหญิงอายุ 5 ปีที่ได้รับการวัดส่วนสูง รายการข้อมูล 4 B1 = จำนวนเด็กอายุ 0-5 ปี ทั้งหมด รายการข้อมูล 5 B2 = จำนวนเด็กอายุ 0-5 ปีที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด รายการข้อมูล 6 B3 = จำนวนประชากรชายอายุ 5 ปีที่ได้รับการวัดส่วนสูงทั้งหมด รายการข้อมูล 7 B4 = จำนวนประชากรหญิงอายุ 5 ปีที่ได้รับการวัดส่วนสูงทั้งหมด สูตรคำนวณตัวชี้วัด 1) ความครอบคลุมเด็กที่ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดความยาว/ส่วนสูง = (B2/ B1) × 100 2) ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปีสูงดีสมส่วน = (A1 / B2) × 100 3) ส่วนสูงเฉลี่ยชายที่อายุ 5 ปี = (A2 / B3) 4) ส่วนสูงเฉลี่ยหญิงที่อายุ 5 ปี = (A3 / B4)

5 ตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย
งานที่มุ่งเน้น มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ครอบครัว ชุมชน ศูนย์เด็กเล็ก สถานบริการ อปท. หญิงตั้งครรภ์ (270 วัน) เด็ก อายุ 0-6 เดือน (180 วัน) อายุ 6 เดือน – 2 ปี (550 วัน)

6 ตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย
แนวคิดการดำเนินงาน ร่วมกันขับเคลื่อนงานโดยใช้กระบวนการPDCA ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ วิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานในพื้นที่ พัฒนางานด้านโภชนาการ ทันตสุขภาพ กิจกรรมทางกาย การนอน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ ตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง ดำเนินการ ใน 5 setting ครอบครัว ชุมชน ศูนย์เด็กเล็ก สถานบริการ อปท.

7 คำนิยาม ตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย
ตำบลที่มีการดำเนินงาน ใน 5 setting ได้แก่ สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ชุมชน อปท. ศูนย์เด็กเล็ก และครอบครัว ตามกระบวนการดังนี้ ประเมินตนเองตามแบบประเมินตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฯ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมสำคัญด้าน โภชนาการ ทันตสุขภาพ กิจกรรมทางกาย การนอน และสุขาภิบาลอาหารและน้ำ วิเคราะห์ จัดทำแผนพัฒนา/ปรับปรุงการดำเนินงานโภชนาการ ทันตสุขภาพ กิจกรรมทางกาย การนอน และสุขาภิบาลอาหารและน้ำ โดยร่วมวางแผนกับนักวิชาการสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ/ตำบล อปท. อสม. และครูพี่เลี้ยง บุคลากรสาธารณสุขระดับตำบล อปท. อสม. และครูพี่เลี้ยง ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ Check Act & Plan Do

8 + กลุ่มเป้าหมาย แนวคิด กรอบแนวคิดและแนวทางการดำเนินงาน
มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต (The Miracle of 1,000 Days: Maternal and Child Nutrition, Growth and Development) 1,000 วันแรกของชีวิต ทารกในครรภ์ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิ + เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 2 ปี กลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ (270 วัน) เด็ก อายุ 0-6 เดือน (180 วัน) อายุ 6 เดือน – 2 ปี (550 วัน) แนวคิด บูรณาการสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางสังคมโดย อปท.ร่วมลงทุนและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม บูรณาการโภชนาการ การเล่น การนอน สุขภาพช่องปาก สุขาภิบาลอาหารและน้ำ การอ่านเล่านิทาน ฝึกวินัย มีทักษะ ANC, WCC, ครอบครัวคุณภาพ โดยใช้กลไกPCC และ MCH board คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) มาตรการทางสังคม สูงดีสมส่วน (สมส่วน=ไม่อ้วน ไม่ผอม) พัฒนาการสมวัย เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ และเด็กแรกเกิด-2 ปี เพื่อติดตามการบริโภคอาหารและให้คำแนะนำอาหารตามวัย ส่งเสริมพัฒนาการสุขาภิบาลอาหารและน้ำสุขภาพช่องปาก กิจกรรมทางกาย และการนอน เดือนละ 1 ครั้ง/ครอบครัว โดยทีม PCC/ รพช./ รพ.สต./ อสม.

9 แนวทางการดำเนินงานในพื้นที่
ANC/WCC คุณภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ หญิงตั้งครรภ์ (270 วัน) ทารก อายุ 0-6 เดือน (180 วัน) เด็กอายุ 6 เดือน-2 ปี (550 วัน) เฝ้าระวังและติดตามน้ำหนักหญิงตั้งครรภ์/ ส่วนสูงน้ำหนักเด็ก คัดกรอง ส่งเสริม ติดตาม และกระตุ้นพัฒนาการเด็กโดยใช้ DSPM/TIDA4I ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ให้คำแนะนำเรื่อง กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน จ่ายยาเม็ดไอโอดีน เหล็ก โฟลิก, ยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก ยกระดับบริการ สอนสาธิตให้แม่มีทักษะ จุดกราฟโภชนาการหญิงตั้งครรภ์/กราฟการเจริญเติบโต และแปลผลเป็น จัดอาหารหญิงตั้งครรภ์ อาหารหญิงให้นมบุตร อาหารทารก และเด็กอายุ 1-2 ปี ที่เหมาะสม การแปรงฟันให้เด็กแบบลงมือปฏิบัติ (hand on) และการตรวจฟันเด็กด้วยตนเอง เฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการ โดยพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กใช้คู่มือ DSPM จ่าย Progesterone เพื่อลด Preterm สนับสนุนแปรงสีฟันอันแรก ยกระดับการมีส่วนร่วม ท้องถิ่น ภาคีเครือข่ายแจกนม/ไข่ให้แก่หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร เด็ก หรืออาหารที่ให้พลังงานและโปรตีนสูง มีมาตรการทางสังคมในชุมชนเพื่อส่งเสริมโภชนาการ กิจกรรมทางกาย สุขภาพช่องปาก

10 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน
เป้าหมายปี 61 ร้อยละ 54 ที่มา: ข้อมูลรายงานHDC สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2560 ข้อมูลวันที่ 15 พย.60 นางณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

11 ส่วนต่างส่วนสูงเฉลี่ยของเด็กชายอายุ 5 ปีกับค่าเป้าหมาย
ส่วนต่างส่วนสูงเฉลี่ยของเด็กหญิงอายุ 5 ปีกับค่าเป้าหมาย ที่มา: ข้อมูลรายงานHDC สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2560 ข้อมูลวันที่ 14 ธค.60

12 ประเด็นการตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
1. ระบบบริหารจัดการและการขับเคลื่อนการดำเนินงาน แนวทางการตรวจติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1.1 ระบบและกลไกในการ ขับเคลื่อนงานผ่านพชอ. 1.2 นโยบายการขับเคลื่อนงาน 1.3 แผนการขับเคลื่อนงาน 1.4 การขับเคลื่อน 1.5 ผลการขับเคลื่อนและ ข้อเสนอแนะ 1. จังหวัดมีระบบและกลไกในการขับเคลื่อนงานผ่าน พชอ. 2. จังหวัดมีนโยบายการขับเคลื่อนงาน 3. บุคลากรสาธารณสุขทุกคนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสตรี และเด็กรับทราบนโยบาย พร้อมทั้งมีแผนงาน/ โครงการรองรับนโยบาย 4. อำเภอมีการขับเคลื่อนงานผ่านคณะกรรมการ คุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 5. มีตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ ผุ พัฒนาการสมวัย

13 ประเด็นการตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
2. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกระดับเพื่อขับเคลื่อนงาน แนวทางการตรวจติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1.แผนการพัฒนาศักยภาพ ให้มีความรู้และทักษะ 2. การพัฒนาศักยภาพ 3. ผลการพัฒนาศักยภาพ และข้อเสนอแนะ 1. บุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับการพัฒนาศักยภาพจนมีความรู้และทักษะในการขับเคลื่อนงานมหัศจรรย์ 1,000 วัน และตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย

14 ประเด็นการตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
3.การส่งเสริมกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน แนวทางการตรวจติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ 3.1 แผนการการส่งเสริม กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน 3.2 มีการสื่อสาร สาธารณะ 3.3 การส่งเสริมกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน 3.4 ผลการส่งเสริมกิน กอด เล่น เล่า นอน และ ข้อเสนอแนะ 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการสอนสาธิตการจัดอาหาร เฝ้าติดตาม น้ำหนัก และได้รับยาเสริมไอโอดีน เหล็ก และโฟลิก 2. หญิงให้นมบุตรได้รับการสอนสาธิตการจัดอาหาร และ ได้รับยาเสริมไอโอดีน เหล็ก และโฟลิก 3. พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการสอนสาธิตการจัด อาหารทารกและเด็กอายุ 1-5 ปี เฝ้าติดตามส่วนสูงน้ำหนัก และได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็กสำหรับเด็กอายุ 6 เดือน - 5 ปี 4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับองค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสารในเรื่อง มหัศจรรย์ 1,000 วัน และตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดี สมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย อย่างต่อเนื่องอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง

15 Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
1. ถ่ายทอดนโยบายมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิตและตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ให้แก่พื้นที่ทุกระดับ 2. ขับเคลื่อนงานผ่านคกก.พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) 3. จัดทำแผนงาน/โครงการรองรับนโยบาย 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จังหวัดมีนโยบายมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของ ชีวิต และตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย พร้อมทั้งมีแผนงาน/ โครงการ ร้อยละ 50 ร้อยละ 80 ร้อยละ 100 2. จังหวัดมีตำบลส่งเสริมเด็กอายุ0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ทุกอำเภอ ร้อยละ 10 ร้อยละ 20 ร้อยละ 30 3. อำเภอขับเคลื่อนงานมหัศจรรย์ 1000 วัน และ ตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย ผ่าน พชอ. ร้อยละ 10 ร้อยละ 20 ร้อยละ 30

16 ขอบคุณและสวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google