งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย : นายสุพัฒน์ กลัดสมบุญ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยมือตัดชิ้นงาน โดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ 1 ของนักเรียนช่างยนต์ สาขางานยานยนต์ ชั้นปีที่ 1 คณะช่างอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาบัญชีการเงิน เรื่อง การบัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินค้า สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การจัดการเรียนการสอนวิชาบัญชีการเงิน นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปวส.2 สาขาวิชาการบัญชี จำนวน 27 คน มีทักษะทางการเรียนรู้ และการเข้าใจบทเรียนไม่เท่ากัน บางคนใช้เวลาในการเรียนรู้มากกว่าคนอื่น และจากการทดสอบความรู้ มีผู้สอบไม่ผ่านเกณฑ์กำหนด จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 26 ทำให้ผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่าเกณฑ์ จึงได้ปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอน ที่ยังเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบ เอสทีเอดี (STAD) student Teams Achievement Division ของสลาวิน เป็นการจัดกลุ่มผู้เรียน มีคนเก่ง ปานกลาง และคนอ่อน เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กิจกรรม กลุ่มร่วมมือ STAD ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการเรียนรู้แบบกลุ่ม ร่วมมือ STAD วิชาบัญชีการเงินเรื่องการบัญชีสำหรับกิจการซื้อสินค้า สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาวิชาการ บัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูงปีที่2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี ที่มีต่อการ เรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD

การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรต้น การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ตัวแปรตาม 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียน 2.ความพึงพอใจของผู้เรียน

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี จำนวน 27 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 27 คน

เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือ STAD วิชาบัญชีการเงิน เรื่องการบัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินค้าสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี 2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้กิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือ STAD วิชาบัญชีการเงิน เรื่องการบัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินค้าสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี

การเก็บข้อมูล การสร้างและหาคุณภาพใช้เครื่องมือในการวิจัย 1. วิเคราะห์เนื้อหาและผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของบทเรียน 2.นำเนื้อหาให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาตรวจสอบความถูกต้องและความสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด3 ท่าน 3. ศึกษาการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือ STAD จากแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาจัดแบ่งเนื้อหาออกเป็นเรื่อง ย่อย ๆ ตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 4 . เขียนแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือ STAD ประกอบด้วยแบบทดสอบก่อนเรียน ใบงาน แบบทดสอบหลังเรียน แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน 5.นำแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือ STAD ที่สร้างขึ้นให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบและความครบถ้วนของเนื้อหาบทเรียนและนำมาปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำ

ผลการวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ การวิเคราะห์หาค่าประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือ STAD ตามเกณฑ์ 75/75 การทดสอบ N จำนวนข้อสอบ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าประสิทธิภาพที่ได้ (E1/E2) ความหมาย แบบทดสอบระหว่างเรียน (E1) 27 20 15.44 77.20 77.20/81.45 สูงกว่าเกณฑ์ แบบทดสอบหลังเรียน (E2) 16.29 81.45 แสดงให้เห็นว่า ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือ STAD มีค่า 77.20/81.45 หมายความว่า ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียน (E1) ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือ มีค่าเท่ากับ 77.20 และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) มีค่าเท่ากับ 81.45 แสดงว่า แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือ STAD วิชาบัญชีการเงินเรื่องการบัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินค้า มีประสิทธิภาพ สามารถนำไปใช้จัดการเรียนรู้ช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ให้มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 75/75 ซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ผลการวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือ STAD คะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ กลุ่มตัวอย่าง N Mean S.D. ผลต่างค่าเฉลี่ย t df Sig1tailed คะแนนเต็ม ก่อนเรียน 27 12.88 1.55 3.41 -8.916 26 0.000* 20 คะแนน หลังเรียน 16.29 1.46 พบว่า การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยทั้งสองกลุ่มของผู้เรียนหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.29 คะแนนก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย 12.88 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบแล้วมีความแตกต่างกัน 3.41 คะแนน จากการทดสอบสถิติ t พบว่าค่าเฉลี่ยระหว่างผู้เรียนหลังเรียนกับก่อนเรียนสูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05

ผลการวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ (ต่อ) ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อแผนการจัดการเรียนรู้วิชาบัญชีการเงิน เรื่องการบัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินค้า ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีโดยการเรียนรู้ แบบกลุ่มร่วมมือ STAD พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เท่ากับ 4.43 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.59 พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 3 อันดับคือ 1)การเรียนแบบกลุ่มร่วมมือทำให้ผู้เรียนกระตือรือร้นใน การเรียนมากขึ้น = 4.67 2)เนื้อหาในกิจกรรมที่ร่วมกัน มีความเหมาะสมและใช้เวลาไม่มากไม่น้อยเกินไป = 4.60 และ 3) ผู้เรียนมีโอกาสอ่าน เขียน และวิเคราะห์สิ่งใหม่ ๆร่วมกันตลอดเวลา = 4.60)  

สรุปผลการวิจัย 1.มีแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาบัญชีการเงิน เรื่อง การบัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินค้าสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ระยะเวลาการเรียนรู้ 3 สัปดาห์ 2. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาบัญชีการเงิน เรื่องการบัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินค้าสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD มีค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้โดยมีค่าเท่ากับ 0.4791 หรือคิดเป็นร้อยละ47.91 แสดงว่า ผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 47.91

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 3. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาบัญชีการเงิน เรื่อง การบัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินค้าสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD มีประสิทธิภาพ 77.20/81.45 แสดงว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 75/75 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 4. ผู้เรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาบัญชีการเงิน เรื่อง การบัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินค้าสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 5. ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อแผนการจัดการเรียนรู้วิชาบัญชีการเงิน เรื่องการบัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินค้า ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีโดยการเรียนรู้ แบบกลุ่มร่วมมือ STAD มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าคะแนนเฉลี่ยโดยรวม เท่ากับ 4.43 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.59 สรุปได้ว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีความกระตือรือร้น ได้อ่าน เขียน และวิเคราะห์สิ่งใหม่ ๆ ร่วมกับเพื่อนตลอดเวลา ดังนั้น แผนการจัดการเรียนรู้วิชาบัญชีการเงิน เรื่องการบัญชีสำหรับกิจการซื้อขายสินค้า โดยการเรียนรู้ แบบกลุ่มร่วมมือ STAD มีคุณภาพและมีประสิทธิผลเมื่อนำไปใช้จัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อเสนอแนะ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยได้ค้นคว้าพัฒนาขึ้นทำให้นักศึกษาสาขาการบัญชีมีความรู้ ความเข้าใจมากขึ้นจากการเรียนรู้ในกลุ่มเพื่อน มีความสามัคคี และเกิดความห่วงใยต่อกันมากขึ้นควรนำไปใช้กับวิชาอื่นได้ 2. การจัดกลุ่มนักศึกษาให้ คละความสามารถอย่างชัดเจนตามสาระการเรียนรู้ที่ สอนเพื่อให้สมาชิกเกิดพฤติกรรมกลุ่มร่วมมือในการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อการเรียนการสอน