สาธารณสุขชายแดนระดับเขตสุขภาพที่ 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
วิสัยทัศน์ “วิสัยทัศน์จังหวัดสระแก้วมีระบบสุขภาพที่ดีรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษ พื้นที่ชายแดน และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนภายในปี 2562”
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การจัดทำแผนเงินบำรุง
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
รายงานผลการตรวจนิเทศราชการ คณะที่ 3 รอบที่ 2/2561
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กรอบการจัดทำแผนปีงบประมาณ 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาธารณสุขชายแดนระดับเขตสุขภาพที่ 6 (ไทย – กัมพูชา) สระแก้ว : บันเตียเมียนเจย และพระตะบอง จุดผ่านแดนถาวร บ้านคลองลึก อ.อรัญประเทศ : ปอยเปต อ.โอโจรว จ.บันเตียเมียนเจย 1. จุดผ่อนปรน บ้านตาพระยา อ.ตาพระยา : บ้านบึงตะกวน จ.บันเตียเมียนเจย 2. จุดผ่อนปรน บ้านหนองปรือ อ.อรัญประเทศ : อ.มาลัย จ.บันเตียเมียนเจย 3. จุดผ่อนปรน บ้านเขาดิน อ.คลองหาด : พนมได(บ้านกิโล 13) จ.พระตะบอง ด่านถาวรบ้านคลองลึก จันทบุรี : พระตะบอง จุดผ่านแดนถาวร บ้านแหลม อ.โป่งน้ำร้อน : บ้านกร็อมเรียง อ.กร๊อมเรียง จ.พระตะบอง จุดผ่านแดนถาวร บ้านผักกาด อ.โป่งน้ำร้อน : บ้านคลองโอคอม อ.ไพลิน จ.พระตะบอง 1. จุดผ่อนปรน บ้านซับตารี อ.สอยดาว : บ้านโอลำดวน อ.พนมปรึก จ.พระตะบอง 2. จุดผ่อนปรน บ้านสวนส้ม อ.สอยดาว : บ้านโอลัวะ อ.พนมปรึก จ.พระตะบอง 3. จุดผ่อนปรน บ้านบึงชนังล่าง อ.โป่งน้ำร้อน :บ้านสวายเลง อ.กร็อมเรียง จ.พระตะบอง ด่านถาวรบ้านแหลม ด่านถาวรบ้านผักกาด ตราด : พระตะบอง จุดผ่านแดนถาวร บ้านหาดเล็ก อ.คลองใหญ่ : บ้านจามเยียม อ.มลฑลสีมา จ.เกาะกง 1. จุดผ่อนปรน บ้านหมื่นด่าน อ.บ่อไร่ : บ้านศาลเจ้า อ.สัมลูด จ.พระตะบอง 2. จุดผ่อนปรน บ้านมะม่วง อ.บ่อไร่ : บ้านฉอระกา อ.สำลูด จ.พระตะบอง เขตชายแดนติดกัมพูชารวม 416 กม. ด่านถาวรบ้านหาดเล็ก

ยุทธศาสตร์ 4 E กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 6 พ.ศ. 2560-2579 วิสัยทัศน์ ประชาชนสุขภาพดี ระบบสุขภาพมีความเป็นเลิศ พร้อมพัฒนาสู่เมืองสุขภาพอาเซียน และเมืองสุขภาวะที่ยั่งยืน พันธกิจ 1.พัฒนานโยบายสุขภาพในทุกระดับ ขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติในทั่วทุกพื้นที่ แบบมีส่วนร่วม ส่งเสริมภาคีทุกภาพส่วนของพื้นที่ ร่วมสร้างสังคมสุขภาพดี 2.ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพในทุกระดับ ให้มีความเข้มแข็ง มีมาตรฐานในการจัดบริการ สามารถสนองตอบต่อปัญหา และแนวโน้มความต้องการของพื้นที่ บริการสุขภาพมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้บริการทั้งในและต่างประเทศ สถานบริการสุขภาพสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสมพร้อมรับสถานการณ์   3.. เสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรส่งเสริมการมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพที่ดี มีความมั่นคงในชีวิตและปฏิบัติงานอย่างมีความสุข   4. ส่งเสริมการสร้างสรรค์องค์ความรู้ นวัตกรรม ทางสุขภาพ และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศสุขภาพให้มีคุณภาพ สามารถรองรับบริการ และการบริหารทั้งในระดับพื้นที่ จังหวัด และเขตสุขภาพ   5.พัฒนาระบบบริหารจัดการของหน่วยงานให้เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง มีธรรมาภิบาล   ประเด็นยุทธศาสตร์ 1.การเสริมสร้างการมีสุขภาพดีของประชาชนแบบมีส่วนร่วมจากภาคีทุกภาคส่วน มุ่งสู่สังคม สุขภาวะ   2.การพัฒนาสถานบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ และระบบบริการที่เป็นเลิศ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง   3. การพัฒนาสู่เมืองบริการสุขภาพอาเซียน   4.การสร้างสรรค์องค์ความรู้ นวัตกรรมทางสุขภาพ และ ระบบข้อมูลสารสนเทศสุขภาพ   5.การพัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล และการสร้างสุขในการทำงานของบุคลากร Governance Excellence P & P Excellence Service Excellence People Excellence ยุทธศาสตร์ 4 E กระทรวงสาธารณสุข

(ไทย – กัมพูชา) ความร่วมมือสาธารณสุขชายแดน ระดับเขตสุขภาพที่ 6 2542 MOU MOU 2542 (นายกร ทัพพะรังสี) 2544 (นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์) 2559 (น.พ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร) ยกระดับคุณภาพการบริการในหน่วยบริการสุขภาพในระดับ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ให้มีมาตรฐานการจัดบริการในระดับสากลและตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวง จุดยืน 20 ปี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาสู่เมืองบริการสุขภาพอาเซียน - สถานบริการสุขภาพและบุคลากรมีขีดความสามารถในการจัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับ เชื่อมั่น และศรัทธาจากผู้ใช้บริการทั้งในและต่างประเทศ - ระบบงานสาธารณสุขชายแดนมีประสิทธิภาพ ลดภัยคุกคาม ความเสี่ยงทางด้านสุขภาพ - บริการสุขภาพร่วมสนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ในทุกมิติ ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดปี 60 ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการจัดบริการสุขภาพแก่ชาวต่างชาติ ตัวชี้วัดที่ 62 สัดส่วนของแรงงานต่างด้าวที่ได้รับการดูแลรักษาปัญหาสุขภาพที่ตรวจพบ

การดำเนินงานสาธารณสุข กิจกรรมสนับสนุน ตัวชี้วัดร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการจัดบริการสุขภาพแก่ชาวต่างชาติ 1. ระบบบริการสุขภาพ HA / HA to PCA, Friendly Hospital, One Stop Servince, เฉพาะทาง, ภาษา และ Premium 2. ระบบส่งต่อผู้ป่วย 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร 8. อื่นๆ คุ้มครองผู้บริโภค, อาหารปลอดภัย/พัฒนาห้องปฏิบัติการ/แจ้งเตือนภัย/พัฒนากลไกการตอบสนองทางอาหารและน้ำ และยาเสพติด(to be number one) กรอบ การดำเนินงานสาธารณสุข ชายแดน 4. แลกเปลี่ยนข้อมูล MBDS และชายแดนคู่ขนาน 5. การเฝ้าระวัง ป้องกัน และตอบโต้ ภาคีเครือข่าย/SRRT/RRT, ด่านควบคุมโรคฯ IHR2005, ชายแดนคู่ขนาน, อสต., EOC, One Health ระหว่างประเทศ, และควบคุมโรคติดต่อ เช่น Aids TB Malaria 7. Sister Hospital VDO Conferrence และพัฒนาบุคลากร 6. แรงงานข้ามชาติ การบริหารการเงินการคลัง, หลักประกันสุขภาพ, สุขาภิบาล/อนามัยสิ่งแวดล้อม, และเข้าถึงบริการ

จุดเน้น มาตรการ และแนวทางการพัฒนา 11 ข้อ 1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพ คือ Premium 2. พัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วย คือ พัฒนาระบบส่งกลับผู้ป่วยข้ามชาติ 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร(เฉพาะพื้นที่) 4. ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ (IHR 2005) 5. Emergency Operations Center (EOC) 6. One Health ระหว่างประเทศ 7. ควบคุมโรคติดต่อ เช่น Aids TB Malaria 8. การบริหารการเงินการคลังในแรงงานข้ามชาติ 9. เพิ่มหลักประกันสุขภาพในแรงงานข้ามชาติ 10. เพิ่มช่องทางการเข้าถึงบริการ 11. Sister Hospital / Twin City / Buddy Hospital คือ พัฒนาบุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข

โครงการระดับเขต โครงการระดับจังหวัด 1) โครงการพัฒนางานสาธารณสุขชายแดนเขตสุขภาพที่ 6 2) อื่น ๆ เพิ่มเติมของ สคร. ศูนย์อนามัย โครงการระดับจังหวัด 1) โครงการพัฒนาระบบจัดการสุขภาพ ด้านการตอบโต้และเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ระบบบริการ เพื่อพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่สาธารณสุขชายแดน จังหวัดสระแก้ว ประจำปีงบประมาณ 2560 2) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ชายแดน พื้นที่ทุรกันดาร และพื้นที่เกาะ ปี 2560 จังหวัดตราด 3) โครงการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริการสุขภาพ จังหวัดจันทบุรี

Quick Win ที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน รายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการจัดบริการสุขภาพแก่ชาวต่างชาติ ร้อยละ 5 มีแผนพัฒนาตามมาตรการ แนวทาง 11 ข้อ ดำเนินงานตามแผนพัฒนาตามมาตรการ แนวทาง 11 ข้อ ร้อยละ 50 ร้อยละ 75 ผลการประเมินรายได้จากการจัดบริการสุขภาพแก่ชาวต่างชาติเพิ่มขึ้นร้อยละ 5

ขอบคุณครับ