งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
นายแพทย์วิศิษฎ์ ตั้งนภากร อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ วันที่ 6 ธันวาคม 2559

2 Value based Health Care
“An assessment of the benefit of an intervention relative to the expenditure” American College of Physicians (ACP) Clinical Guidelines Committee เป็นเอกสารที่ท่าน รมว. ได้นำเสนอต่อผู้บริหารในหลายเวที จากภาพจะเห็นว่า สัญลักษณ์ทางสุขภาพ เงาที่ตกทอดไปเป็นมูลค่าของเงิน การมีสุขภาพดีย้อมตามมาด้วยค่าใช้จ่าย ทำอย่างไร จึงจะไม่เพิ่มภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และมีสุขภาพที่ดี

3 ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์รัฐบาล
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ รัฐบาล กระทรวงสาธารณสุข 1. วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักคุ้มครองผู้บริโภคและส่งเสริมผู้ประกอบการด้านบริการสุขภาพ เพื่อประชาชนมีสุขภาพดี ชุมชนมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง 2. ยุทธศาสตร์ : 1) ส่งเสริมพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สถานพยาบาล และสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ 2) ส่งเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการมีส่วนร่วมของ ประชาชนและภาคีเครือข่ายในการจัดการสุขภาพ 3) ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการบริการสุขภาพสู่มาตรฐานสากล 4) พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ 1. วิสัยทัศน์ : มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน 2. ยุทธศาสตร์ชาติ : 1) ด้านความมั่นคง 2) ด้านเศรษฐกิจ 3) ด้านสังคม 4) ด้านการต่างประเทศ 5) ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม 1. วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อ ประชาชนสุขภาพดี 2. ยุทธศาสตร์ : 1) ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ 2) บริการเป็นเลิศ 3) บุคลากรเป็นเลิศ 4) บริหารจัดการเป็นเลิศ

4 เป็นองค์กรหลักคุ้มครองผู้บริโภค
VISION MISSION เป็นองค์กรหลักคุ้มครองผู้บริโภค และส่งเสริมผู้ประกอบการด้านบริการสุขภาพ เพื่อประชาชนมีสุขภาพดี ชุมชนมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง มุ่งมั่นส่งเสริม พัฒนา และ อภิบาล ระบบบริการสุขภาพให้ได้ มาตรฐานสากล โดยการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง

5 ส. สมรรถนะเป็นฐาน บ. บริการด้วยใจ ส. ใฝ่สามัคคี

6 และชุมชนจัดการสุขภาพตนเอง
ประชาชน ดูแลสุขภาพตนเอง และชุมชนจัดการสุขภาพตนเอง อย่างยั่งยืน ระบบบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพ ประชาชนได้รับ บริการสุขภาพ ที่มีมาตรฐาน ปลอดภัย และสมประโยชน์ ผู้ประกอบการ ธุรกิจบริการสุขภาพ สามารถแข่งขันทั้ง ในและนอกประเทศ

7 ประชาชน/ชุมชนพึ่งตนเองด้านสุขภาพ (ลดรายจ่าย)
เป้าหมายระยะ 20 ปี อภิบาลระบบ สู่ความยั่งยืน เป็นศูนย์กลางสุขภาพ 1 ใน 3 ของเอเชีย (เพิ่มรายได้) ประชาชน/ชุมชนพึ่งตนเองด้านสุขภาพ (ลดรายจ่าย)

8 Governa nce Excellen ce
เป้าหมายระยะ 5 ปี 1. โครงการพระราชดำริฯ 2. รพ. ผ่านมาตรฐานระบบบริการ สุขภาพ(Green & Clean Hospital) 3. สถานประกอบการเพื่อ สุขภาพยกระดับสู่สากล 4. ประทศไทยเป็น ศูนย์กลางสุขภาพ นานาชาติ Service Excellen ce People Excellen ce P&P Excellen ce 1. ประชาชนดูแลสุขภาพ ตนเองได้ 2. ชุมชนจัดการสุขภาพ ตนเองอย่างยั่งยืน Governa nce Excellen ce 1. องค์กร ผ่านเกณฑ์ PMQA 2. องค์กรมีระบบคุณธรรมและความ โปร่งใส 3. วิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ เพิ่มขึ้น 4. กฎหมายเพื่อส่งเสริมรายได้และ บริการประชาชน

9 ประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง และชุมชนจัดการสุขภาพตนเองอย่างยั่งยืน
1. P&P 3. People Excellence ประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง และชุมชนจัดการสุขภาพตนเองอย่างยั่งยืน เป้าหมาย มาตรการ ผลระยะ 1 ปี ผลระยะ 5 ปี 1. ประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง 1. พัฒนาการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพที่ถูกต้องและมีความรอบรู้ระดับดี 2. พัฒนาครอบครัวให้มีศักยภาพดูแลตนเอง (อสค.) 1. ปชช. มีความรอบรู้ ระดับดี (10%) 2. อสค. 40,000 ครอบครัว 1. ปชช. มีความรอบ รู้ ระดับดี (20%) 2. อสค. 8 แสนครอบครัว 2. ชุมชนจัดการสุขภาพตนเองอย่างยั่งยืน 1. พัฒนา อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน 2. พัฒนาตำบลจัดการสุขภาพบูรณาการ 5 กลุ่มวัย 1. อสม.นักจัดการสุขภาพฯ (ตำบลละ 10 คน) 2. ตำบลฯ ผ่านเกณฑ์ (70%) (ตำบลละ 30 คน) 2. ตำบลฯ ผ่านเกณฑ์ทุกตำบล

10 ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่มีมาตรฐานปลอดภัยและสมประโยชน์
2. Service Excellence ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่มีมาตรฐานปลอดภัยและสมประโยชน์ ผู้ประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพสามารถแข่งขันทั้งในและนอกประเทศ เป้าหมาย มาตรการ ผลระยะ 1 ปี ผลระยะ 5 ปี 1. โครงการพระราชดำริฯ พัฒนามาตรฐานสุขศาลาพระราชทานใน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน 17 แห่ง 19 แห่ง 2. รพ. ผ่านมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ (Green & Clean Hospital) 1. พัฒนาผังแม่บทอาคารสภาพแวดล้อม 2. พัฒนาปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องมือ แพทย์ สู่ ISO 3. พัฒนา รพ.สู่เกณฑ์มาตรฐานระบบบริการ สุขภาพ 1. 51 รพ. 2. ผ่าน ISO 5 ด้าน 3. ร้อยละ 70 1. รพ.ทุกแห่ง 2. ผ่าน ISO ทุกแห่ง (ภูมิภาค) 3. รพ.ทุกแห่ง 3. สถานประกอบการเพื่อสุขภาพยกระดับสู่สากล 1. ยกระดับสถานประกอบการ สุขภาพสู่ Thai SPA Award 1. ร้อยละ 30 1. ร้อยละ 50 4. ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ 1. ส่งเสริม พัฒนาสถานบริการสุขภาพผ่านมาตรฐานสากล (HA JCI) 1. ร้อยละ 10

11 4.Governanc-Excellence
มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ เป้าหมาย มาตรการ ผลระยะ 1 ปี ผลระยะ 5 ปี องค์กรมีระบบบริหารจัดการตามเกณฑ์ (PMQA) 1. พัฒนาองค์กรสู่การรับรอง เกณฑ์บริหารจัดการภาครัฐ ผ่านการรับรองหมวด 3,6 ผ่านการรับรองทุกหมวด 2. องค์กรมีระบบคุณธรรมและความโปร่งใส 1.ส่งเสริมคุณธรรมและความ โปร่งใสขององค์กร (ITA) ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 3. สัดส่วนวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์เพิ่มขึ้น ส่งเสริมวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ 3 เรื่อง 10 เรื่อง 4. กฎหมายที่ส่งเสริมการเพิ่มรายได้ทางสุขภาพและบริการประชาชน พัฒนาปรับปรุงกฎหมาย 13 ฉบับ -

12 4.0 มั่นคง ยั่งยืน มั่งคั่ง งบประมาณปี 2560 รากฐาน เป้าหมาย
ส่วนกลาง 49% ภูมิภาค 51% (167 ล้าน) มั่งคั่ง รากฐาน เป้าหมาย ผลที่คาดจะได้รับ 1. สุขศาลาพระราชทานฯ 2. สถานบริการสุขภาพภาครัฐ 3. สถานพยาบาลภาคเอกชน 4. สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ บริการสุขภาพมีมาตรฐาน และมีศักยภาพในการแข่งขัน ในระดับสากล คุ้มครองผู้รับรับริการ และสร้างรายได้ ตำบลจัดการสุขภาพบูรณาการ 5 กลุ่มวัย ชุมชนจัดการสุขภาพตนเอง ลดรายจ่าย 1. อสค. 2. อสม.นักจัดการสุขภาพ 3.ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง

13

14


ดาวน์โหลด ppt การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google