นโยบายกรมสุขภาพจิต ประจำปี 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
Dream สถาบันส่งเสริม สุขภาพ บทบาท : ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย Service model Training center Research development Reference center Database network Referral.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ร่าง ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายกรมสุขภาพจิต ประจำปี 2559 นโยบายกรมสุขภาพจิต ประจำปี 2559

นโยบายกรมสุขภาพจิต ประจำปี 2559 1.การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตทุกกลุ่มวัย 2.การพัฒนากลไกเพื่อเสริมสร้างศักยภาพประชาชนให้มีสุขภาพจิตดี 3.การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช และเพิ่มการเข้าถึงบริการฯ 4.การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 5.การพัฒนาความเป็นเลิศทางบริการ/วิชาการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช

นโยบายที่ 1 การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตทุกกลุ่มวัย 1.1 สตรีและเด็กปฐมวัย 1.2 วัยเรียน 1.3 วัยรุ่น 1.4 วัยทำงาน 1.5 วัยสูงอายุ 1.6 คนพิการ

นโยบายที่ 1 การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ทุกกลุ่มวัย 1.1 สตรีและเด็กปฐมวัย การติดตามดูแลพัฒนาการเด็กอย่างต่อเนื่อง ทั้งในเด็กกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาพัฒนาการ และเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า เด็กกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาพัฒนาการ - เด็กที่มีน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม - เด็กที่ขาดออกซิเจนแรกคลอด - เด็กที่คลอดจากแม่วัยรุ่น - เด็กที่คัดกรองพัฒนาการแล้วพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า - เด็กแรกเกิดครอบครัวยากจน (ที่แม่ได้เงินอุดหนุน 400 บาท) - เด็กที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับแม่ * พัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานให้มีทักษะในการประเมินและส่งเสริม/ กระตุ้นพัฒนาการเด็ก * เพิ่มคุณภาพการเลี้ยงดูเด็กกลุ่มเสี่ยงฯ และเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าให้แก่พ่อแม่/ ผู้ดูแลเด็ก * ติดตามพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยงฯ และเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าจาก พ่อแม่ ผู้ดูแล และบุคลากรสาธารณสุข เน้น

นโยบายที่ 1 การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ทุกกลุ่มวัย 1.2 วัยเรียน เน้น การเฝ้าระวังเด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้ พฤติกรรมและอารมณ์ การส่งเสริม IQ/ EQ เด็กวัยเรียน และพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน * สื่อสารและสร้างความตระหนักจากสถานการณ์ระดับ IQ/ EQ ของเด็กไทย และปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อสังคมในวงกว้าง * พัฒนาองค์ความรู้ที่เชื่อมโยงกับระบบเฝ้าระวังปัญหา IQ/ EQ * สนับสนุนให้มีระบบการดูแลช่วยเหลือเด็กกลุ่มเสี่ยงที่เชื่อมโยงกับระบบสาธารณสุข ผ่านโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโดยบูรณาการระหว่างสถานบริการสาธารณสุข สถานศึกษา และ อปท. เด็กกลุ่มเสี่ยง หมายถึง เด็กนักเรียนที่ได้รับการประเมินจากโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพว่ามีความเสี่ยงต่อปัญหาการเรียน พฤติกรรม อารมณ์ และ/หรือมีปัญหาการเรียน พฤติกรรม อารมณ์ และ/หรือควรได้รับการส่งเสริม EQ

นโยบายที่ 1 การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ทุกกลุ่มวัย (ต่อ) 1.3 วัยรุ่น เน้น การดำเนินงานดูแลสุขภาพวัยรุ่นแบบบูรณาการในสถานบริการ สถานศึกษา และชุมชน ที่เชื่อมโยงกับระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) - พัฒนาทักษะชีวิต/เพศศึกษารอบด้านแก่วัยรุ่นและพ่อแม่ ผู้ปกครองในสถานศึกษาและชุมชน - ส่งเสริมให้มีบริการด้านสังคมจิตใจในวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่มีปัญหาโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นตั้งครรภ์ในสถานบริการสาธารณสุข - มีส่วนร่วมและสนับสนุนเครือข่ายให้จัดกิจกรรมส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในพื้นที่ โดย บูรณาการร่วมกับระบบ DHS และ/ หรือ MCH Board - ส่งเสริมและพัฒนา แนวทางการดำเนินงานของ ทีม Teen manager * การพัฒนาทักษะชีวิตฯในสถานศึกษา หมายถึง การพัฒนาทักษะชีวิต/ เพศศึกษารอบด้านให้แก่วัยรุ่นผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 8 สาระ การเรียนรู้ และชมรม TO BE NUMBER ONE และจัดกิจกรรมเรียนรู้สำหรับพ่อแม่ในโรงเรียน (classroom meeting) *การพัฒนาทักษะชีวิตฯ ในชุมชน หมายถึง สนับสนุนให้เกิดพื้นที่สร้างสรรค์ที่วัยรุ่นมีส่วนร่วมและพื้นที่เรียนรู้สำหรับพ่อแม่ (parent education)

นโยบายที่ 1 การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ทุกกลุ่มวัย 1.4 วัยทำงาน การส่งเสริมสุขภาพจิตวัยทำงาน และป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มเสี่ยงวัยทำงานที่ป่วยด้วย โรคเรื้อรัง มีปัญหาความรุนแรงในครอบครัว และมีปัญหาเสี่ยงต่อการติดสุรา / ยาเสพติดใน รพช. สถานประกอบการ และชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลทางสังคมจิตใจกลุ่มเสี่ยง วัยทำงานที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง มีปัญหาความรุนแรงในครอบครัว และมีปัญหาเสี่ยงต่อการติดสุรา / ยาเสพติดใน รพช. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต วัยทำงาน ในสถานประกอบการ ในชุมชนโดยเชื่อมโยงกับระบบ DHS เน้น

นโยบายที่ 1 การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ทุกกลุ่มวัย 1.5 วัยสูงอายุ การคัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า และพัฒนาระบบการดูแลทางสังคมจิตใจสำหรับผู้สูงอายุใน รพช. (คลินิกสูงอายุ/ คลินิก NCD) และผู้สูงอายุในชุมชน (ชมรมผู้สูงอายุ/ ผู้สูงอายุ ติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง) พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข และสมาชิกชมรมผู้สูงอายุในการดูแลช่วยเหลือตนเอง และผู้อื่น รวมทั้ง ทำประโยชน์ให้สังคม โดยเชื่อมโยงกับระบบ DHS ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตและดูแลด้านสังคมจิตใจ มีการติดตามเยี่ยมบ้าน ร่วมกับทีมหมอครอบครัว ผู้สูงอายุที่มารับบริการในคลินิก NCD/ คลินิกสูงอายุ ได้รับการคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตและดูแลด้านสังคมจิตใจ รวมทั้งมีระบบการส่งต่อ เพื่อดูแลต่อเนื่อง เน้น

นโยบายที่ 1 การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ทุกกลุ่มวัย 1.6 คนพิการ สถานบริการสาธารณสุขบูรณาการ การดูแลทางสังคมจิตใจ และบริการสุขภาพกายให้แก่คนพิการทางกาย และคนพิการทางกายที่มีปัญหาทางจิตให้ได้รับการดูแลทางสังคมจิตใจอย่างต่อเนื่อง สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายคนพิการทางจิตใจฯ และสนับสนุนให้คนพิการทางจิตได้รับการดูแลสุขภาพกาย ส่งเสริมภาพลักษณ์ทางบวกให้แก่คนพิการเพื่อลดตราบาป ลดอคติ และร่วมพิทักษ์ สิทธิประโยชน์ของคนพิการทางจิตใจฯ การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการทางจิตใจ หรือพฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ และออทิสติก ให้ได้รับการฟื้นฟู ด้านสังคมผ่านเครือข่ายดูแลสุขภาพ เน้น

นโยบายที่ 2 การพัฒนากลไกเพื่อเสริมสร้างศักยภาพประชาชนให้มีสุขภาพจิตดี 2.1 พัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) 2.2 พัฒนาการสื่อสารสุขภาพจิตสู่สังคมแบบเชิงรุก

นโยบายที่ 2 การพัฒนากลไกเพื่อเสริมสร้างศักยภาพประชาชนให้มีสุขภาพจิตดี 2.1 พัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) (District Health System: DHS) เน้น บูรณาการงานสุขภาพจิตกับประเด็นสุขภาพที่จำเป็นในพื้นที่ ตามกลุ่มวัย หรือ Service plan พัฒนาศักยภาพทีมนำ DHS และภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคมในชุมชนให้สามารถดูแลสุขภาวะของประชาชนในชุมชน สนับสนุนองค์ความรู้สุขภาพจิตและแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชน การบูรณาการงานสุขภาพจิตสู่ระบบสุขภาพระดับอำเภอให้เข้ากับความต้องการ และบริบทของพื้นที่

นโยบายที่ 2 การพัฒนากลไกเพื่อเสริมสร้างศักยภาพประชาชนให้มีสุขภาพจิตดี 2.2 พัฒนาการสื่อสารสุขภาพจิตสู่สังคมแบบเชิงรุก การส่งเสริมให้ประชาชนมีการรับรู้ ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสุขภาพจิต รวมทั้งมีทัศนคติที่ดีต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิต ขับเคลื่อนการรณรงค์ / ประชาสัมพันธ์เชิงรุกให้สอดคล้องกับงานส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในทุกกลุ่มวัย ผ่านรูปแบบและช่องทางที่หลากหลาย พัฒนาศักยภาพทีม/เครือข่าย ด้านการสื่อสารสุขภาพจิตในระดับท้องถิ่น เผยแพร่ความรู้ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพจิตตนเอง เน้น

นโยบายที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช และเพิ่มการเข้าถึงบริการฯ 3.1 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานของระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชของหน่วยบริการในเขตสุขภาพ และกรุงเทพมหานคร 3.2 พัฒนาการดำเนินงานดูแลและเยียวยาจิตใจในสถานการณ์วิกฤตจากเหตุการณ์ต่างๆ 3.3 แก้ไขปัญหาวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 3.4 พัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิตและ จิตเวชด้วยกลไกทางกฎหมาย

นโยบายที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช และเพิ่มการเข้าถึงบริการฯ 3.1 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานของระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชของหน่วยบริการในเขตสุขภาพ และ กทม การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยจิตเวช ทั้งจิตเวชทั่วไป และจิตเวชเด็กและวัยรุ่นในหน่วยบริการทุกระดับในเขตสุขภาพ - เพิ่มการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในกลุ่มโรคและปัญหาที่สำคัญ (โรคจิต โรคซึมเศร้า สมาธิสั้น ออทิสติก) - พัฒนาระบบส่งต่อและระบบข้อมูลสารสนเทศของการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเขตสุขภาพ - จัดทำแผนอัตรากำลังด้านการพัฒนาบุคลากร แผนการดำเนินงานและแผนงบประมาณด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในเขตสุขภาพ - เพิ่มขีดความสามารถในการคัดกรอง บำบัดรักษา ติดตามเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในกลุ่มประชาชนทั่วไป กลุ่มสี่ยง และกลุ่มป่วย - พัฒนาองค์ความรู้/เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการให้บริการแก่หน่วยบริการในเขตสุขภาพ เน้น

นโยบายที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช และเพิ่มการเข้าถึงบริการฯ 3.2 พัฒนาการดำเนินงานดูแลและเยียวยาจิตใจในสถานการณ์วิกฤตจากเหตุการณ์ต่างๆ - มีระบบการติดตาม การนิเทศ การ Coaching ในผู้ประสบภาวะวิกฤตกลุ่มเสี่ยงให้แก่ทีม MCATT ในพื้นที่ ขยายเครือข่ายทีม MCATT จากระดับอำเภอลงสู่ระดับตำบล และบูรณาการ งานวิกฤตสุขภาพจิตเข้ากับทีม SRRT/Mini MERT - เตรียมความพร้อมของเครือข่ายทั้งในและนอกระบบสาธารณสุขในการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจบุคคลในภาวะวิกฤตอย่างต่อเนื่อง - พัฒนาระบบการสื่อสารในภาวะวิกฤต - บูรณาการแผนและซ้อมแผนวิกฤตสุขภาพจิตและสุขภาพจิตฉุกเฉินตามบริบทของพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่

นโยบายที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช และเพิ่มการเข้าถึงบริการฯ 3.3 แก้ไขปัญหาวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เน้น การเยียวยาด้านจิตใจผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบ รวมกลุ่มเด็กและเยาวชน พัฒนาเครือข่ายทั้งในและนอกระบบสธ. ในหลักสูตรการบำบัดความคิดและพฤติกรรมสำหรับผู้ประสบภัยพิบัติ และหลักสูตรเยียวยาจิตใจเด็กที่ได้รับผลกระทบฯ พัฒนาเครือข่าย อสม. เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต ให้สามารถคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตสำหรับผู้ได้รับผลกระทบฯ รวมทั้งให้การช่วยเหลือเบื้องต้น และการส่งต่อตามระบบได้ พัฒนาโปรแกรมการฟื้นฟูทางสังคมจิตใจสำหรับผู้ได้รับผลกระทบฯโดยอาสาสมัครในพื้นที่ สร้างความเข้มแข็งทางจิตใจแก่เด็กที่ได้รับผลกระทบฯ ทั้งเด็กที่อยู่ในและนอกระบบการศึกษา ผู้ดูแลเด็ก ผู้ได้รับผลกระทบกรณียุ่งยากซับซ้อน ผู้พิการและญาติผู้พิการ ให้สามารถปรับตัวในภาวะวิกฤตได้ และบูรณาการงานสุขภาพจิตแบบครบวงจรสู่ชุมชนนักปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้

นโยบายที่ 3 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช และเพิ่มการเข้าถึงบริการฯ 3.4 พัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวชด้วยกลไกทางกฎหมาย ให้ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานสุขภาพจิต ตามแนวทาง พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551 สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการเฝ้าระวัง ส่งเสริม ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจิตของประชาชน โดยใช้ พ.ร.บ. สุขภาพจิต เป็นเครื่องมือดำเนินงาน ขับเคลื่อนเชิงนโยบายตาม พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551 ผ่านกลไกการดำเนินงานของ สคสช. และคณะอนุกรรมการประสานงานระดับจังหวัด เน้น การผลักดัน ขับเคลื่อนการบังคับใช้ พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551

นโยบายที่ 4 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการของกรมสุขภาพจิตเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กร ธรรมาภิบาล (Organization Governance : OG) 4.2 พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล 4.3 การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) 4.4 พัฒนาข้อมูลสารสนเทศ ด้านสุขภาพจิต และจิตเวช 4.5 การพัฒนาความร่วมมือด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในกลุ่มประชาคมอาเซียน

นโยบายที่ 4 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการของกรมสุขภาพจิตเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรธรรมาภิบาล (Organization Governance : OG) - บริหารงานเชิงรุกเทียบเท่ามาตรฐานสากล มีความยืดหยุ่นและคล่องตัวสูง ภายใต้ระเบียบ หลักเกณฑ์ และการตรวจสอบที่มีคุณภาพ และตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการได้ทันท่วงที - สร้างระบบธรรมาภิบาลและกลไกการตรวจสอบถ่วงดุลภายใน เพื่อให้เป็นองค์กรที่มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และเป็นที่ยอมรับในขีดความสามารถของการยกระดับการบริหารจัดการที่มีความเป็นระบบ - บริหารงานให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

นโยบายที่ 4 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 4.2 พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล วางแผนบริหารกำลังคนให้เกิดประโยชน์สูงสุดสอดคล้องกับความจำเป็นตามบทบาทภารกิจ พร้อมรองรับ การเปลี่ยนแปลงต่อบริบทการบริหารราชการ พัฒนากำลังคนและสร้างความพร้อมเชิง กลยุทธ์ สร้างความเป็นมืออาชีพของบุคลากรทุกสายงาน ดึงดูด และธำรงรักษาคนเก่ง ดี มีคุณภาพ ให้มีขวัญกำลังใจในการทำงาน สร้างสมดุลระหว่างการทำงานกับชีวิตส่วนตัว มีความผูกพันต่อองค์กร สร้างระบบ ธรรมาภิบาลในการประเมินผลการปฏิบัติงานที่มีความเป็นธรรมและโปร่งใส

นโยบายที่ 4 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 4.3 การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ใช้กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) มาเป็นวัฒนธรรมพื้นฐานในการสร้าง พัฒนา และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เกิดองค์ความรู้ที่เพิ่มพูน ต่อยอด หรือองค์ความรู้ใหม่ พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือสร้างองค์ความรู้ที่หลากหลายและเหมาะสม 4.4 พัฒนาข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพจิตและจิตเวช เชื่อมโยงฐานข้อมูลด้านสุขภาพจิตเข้ากับฐานข้อมูลด้านสุขภาพของกระทรวง และศูนย์ข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ พัฒนามาตรฐานการบริหารจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศ (ICT) ด้านสุขภาพจิตและจิตเวช สร้างระบบ Data Center สำหรับการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต และการบริการผู้ป่วย จิตเวช รวมทั้งการบริหารจัดการทรัพยากรด้านสุขภาพจิต

นโยบายที่ 4 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 4.5 การพัฒนาความร่วมมือด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในกลุ่มประชาคมอาเซียน ร่วมขับเคลื่อนและดำเนินงาน ตามแนวยุทธศาสตร์สุขภาพจิตอาเซียน ร่วมวิจัย/พัฒนาองค์ความรู้ และพัฒนาหลักสูตรการอบรม เพื่อรองรับการเป็นแหล่งศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน รวมทั้งเจรจาความร่วมมือ แลกเปลี่ยนความรู้ และประสานการดำเนินโครงการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช กับกลุ่มประเทศอาเซียน พัฒนามาตรฐานระบบบริการ บุคลากร และสภาพแวดล้อมในหน่วยบริการให้มีความพร้อมในการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการจากกลุ่มประเทศอาเซียน

ด้านสุขภาพจิตและจิตเวช นโยบายที่ 5 การพัฒนาความเป็นเลิศทางบริการ/วิชาการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 5.1 พัฒนาหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิตสู่ความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตและจิตเวชระดับชาติ 5.2 พัฒนาวิชาการ ด้านสุขภาพจิตและจิตเวช

นโยบายที่ 5 การพัฒนาความเป็นเลิศทางบริการ/วิชาการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 5.1 พัฒนาหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิตสู่ความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตและจิตเวชระดับชาติ - พัฒนาสู่ศูนย์ความเชี่ยวชาญ (Excellence Center) ใน 7 มิติ ตามประเด็นความเชี่ยวชาญ 19 ประเด็น - พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานในงานส่งเสริมป้องกันปัญหาด้านสุขภาพจิต – พัฒนาศูนย์สุขภาพจิตทุกแห่งสู่มาตรฐานการดำเนินงานตามเกณฑ์ที่กำหนด - พัฒนาขีดความสามารถและมาตรฐานบริการของหน่วยบริการจิตเวช ให้มีความเป็นเลิศในการบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในผู้ป่วยที่รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน (Super Specialist Service) - จัดบริการ SSS (Super Specialist Service) ที่เชื่อมโยงและตอบสนองความต้องการในเขตสุขภาพ

นโยบายที่ 5 การพัฒนาความเป็นเลิศทางบริการ/วิชาการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 5.2 พัฒนาวิชาการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช พัฒนาระบบงานวิจัย / องค์ความรู้ให้เป็นไปตามมาตรฐานการวิจัยของกรมสุขภาพจิตที่ครอบคลุม ทุกประเด็นความเชี่ยวชาญเฉพาะทางสำหรับการพัฒนาไปสู่ความเป็น Excellence Center และงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพจิตที่สำคัญของประเทศไทย พัฒนาระบบการเฝ้าระวังและสอบสวนทางระบาดวิทยาสุขภาพจิตและจิตเวช และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในระดับประเทศ การพัฒนาระบบการใช้องค์ความรู้ในการวางแผนและกำหนดนโยบายงานสุขภาพจิต และจิตเวช ประสาน/ขยายความร่วมมือด้านวิชาการสุขภาพจิตและจิตเวชระดับนานาชาติ