งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
นพ.กฤช ลี่ทองอิน แผนงานสนับสนุนระบบบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

2 P&P_สปสช. P&P_กองทุนท้องถิ่น

3 ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการP&Pในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
1. การตรวจและดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ 2. การตรวจและการบริบาลสุขภาพ พัฒนาการ และภาวะโภชนาการของ เด็กและเยาวชน ตามแนวทางของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และ/หรือแนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนชาวไทยซึ่งจัดทำโดย แพทยสภา 3. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามแผนงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ของประเทศ รวมทั้งวัคซีนไข้หวัดใหญ่ 4. การตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงต่อการเสียสุขภาพและศักยภาพ ที่เอื้ออำนวยต่อการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับประชาชนทั่วไปและกลุ่ม เสี่ยง ตามแนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนไทย ซึ่งจัดทำโดย แพทยสภา/ราชวิทยาลัย

4 ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการP&Pในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
5. การวางแผนครอบครัว ตามแนวทางของกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข และหรือแนวทางการตรวจสุขภาพของประชาชนไทยซึ่ง จัดทำโดยแพทยสภา 6. การให้ยาต้านไวรัสเอดส์ กรณีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจาก แม่สู่ลูก 7. การเยี่ยมบ้านและการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน 8. การให้คำปรึกษาแนะนำ การสร้างเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ การให้ความรู้เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยแก่ ผู้รับบริการทั้งระดับบุคคลและครอบครัว ตลอดจนสนับสนุนให้ ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพ 9. การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก

5 ความเป็นธรรมตาม Health Need ของประชาชน และ พื้นที่ดำเนินการ
กรอบแนวคิดพื้นฐานของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในการกำหนดแนวทางการบริหารกองทุน ความเป็นธรรมตาม Health Need ของประชาชน และ พื้นที่ดำเนินการ ประสิทธิผลและคุณภาพของผลงานบริการสาธารณสุข การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมดำเนินงาน หลักประกันสุขภาพและการบริการสาธารณสุข ประสิทธิภาพการบริหารค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข

6 นโยบายและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง
นโยบายให้ผู้มีสิทธิไปใช้บริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคที่หน่วยบริการทุกแห่งภายในจังหวัด เพื่อ เพิ่มการเข้าถึงบริการ นโยบายของกระทรวง สธ : ฝากครรภ์ทุกที่ ฟรีทุกสิทธิ (ไปใช้บริการได้ที่หน่วยบริการของกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง) นโยบายของกระทรวง สธ : เขตบริการสุขภาพ/ระบบ บริการสุขภาพระดับอำเภอ(DHS) นโยบาย สปสช.กระจายอำนาจไปที่ สปสช.สาขาเขต

7 งบประมาณPP ปี 58 ที่ได้รับจัดสรร
ปี57 ปี58 1. PP-capitation 383.61 2. UC pop (คน) 48,852,000 48,606,000 3. รวมงบประมาณ 18,740,115,720 18,645,747,660 4. Thai pop (คน) 64,871,000 65,104,000 5. PP ต่อ Thai pop 288.88 286.40

8 (ร่าง) สรุปการจัดสรรเงินแยกตามรายการ
ปี 2557 (บาท/ปชก.ทุกสิทธิ) ปี 2558 เพิ่ม+/ลด- วงเงินอัตรา 288.88 286.40 -2.48 งบระดับประทศ (NPP+PPD) 24.50 (23+1.5) 27 (26+1) +2.50 งบระดับพื้นที่ (PPA +PPB+PPD) 219.38 ( ) 214.40 ( ) - 4.98 งบกองทุน_อปท. 45 - 8

9 ผลกระทบของเงิน P&P ปี 58 ที่ได้รับลดลง
กิจกรรมบริการที่อนุมัติให้มีการปรับเพิ่มเติมจากปี 2557 (ขาขึ้น) กิจกรรมที่สามารถดำเนินการ ในปี (ขาลง) 1. การป้องกันและควบคุมความ ผิดปกติแต่กำเนิด (Down Syndrome, Thalassemia และ TSH) 2. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคพื้นฐานที่จำเป็น - การให้วัคซีน MMR/MR เข็มที่ 2 ในเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง การให้วัคซีน dT ในกลุ่ม เสี่ยงและผู้ใหญ่อายุ ปี 3. การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ ที่ไม่พึงประสงค์ - การคุมกำเนิดในกลุ่มอายุ <25 ปี 1. การป้องกันและควบคุมความผิดปกติแต่กำเนิด ( Thalassemia และ TSH) - การให้วัคซีน MMR/MR เข็มที่ 2 ในเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง - การให้วัคซีน dT ในกลุ่มเสี่ยงและผู้ใหญ่อายุ ปี 3. การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ - ดำเนินการเฉพาะบริการวางแผนครอบครัวกึ่งถาวร ในวัยรุ่น กิจกรรมที่ยังไม่สามารถดำเนินการได้ ในปี (ขาลง) 1. การคัดกรอง Down Syndrome 2. การคุมกำเนิดในกลุ่มอายุ <25 ปี

10 ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
Goal ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของ ครัวเรือนลดลง outcome ลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ อัตราป่วย อัตราตาย ที่เป็นภาระโรคของประเทศ บริการ P&P ตามสิทธิประโยชน์ หญิงตั้งครรภ์และ หลังคลอด บริการANC คุณภาพ การดูแลหลังคลอด วัคซีน Flu เด็ก 0-5 ปี - การป้องกันและควบคุม ความผิดปกติแต่กำเนิด วัคซีนพื้นฐาน/ไข้หวัดใหญ่ ตรวจติดตามการเจริญเติบโต/ พัฒนาการ ดูแลสุขภาพช่องปาก วัคซีน Flu วัยทำงาน(25-59ปี) ดูแลสุขภาพทั่วไป/ช่องปาก การรับยา/วัคซีน การอนามัยเจริญพันธ์/ สุขภาพทางเพศ การคัดกรองโรค/ปัจจัยเสี่ยง ผู้สูงอายุ(60ปี) ดูแลสุขภาพทั่วไป/ช่องปาก การรับยา/วัคซีน การคัดกรองโรค/ปัจจัยเสี่ยง วัคซีน Flu เด็ก 6-12ปี - วัคซีนพื้นฐาน/ไข้หวัดใหญ่ ตรวจติดตามการเจริญเติบโต ตรวจติดตามพัฒนาการ ดูแลสุขภาพช่องปาก เยาวชน-วัยรุ่น(13-24 ปี) ติดตามการเจริญเติบโต ดูแลสุขภาพช่องปาก การรับยา/วัคซีน การอนามัยเจริญพันธ์/ สุขภาพทางเพศ การคัดกรองโรค/ปัจจัยเสี่ยง output ปัจจัยที่มีผลต่อ output Input สถานประกอบการ โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก การดูแลตนเอง (Self care) บริการชุมชน (Community service) บริการสาธารณสุข (Health Promotion service) ส่งเสริม บริการเสริม/สนับสนุน บริการเสริม ระบบ บริการ บริการทางเลือก (NGO/Social enterprise) หน่วยบริการ (หน่วยบริการภาครัฐ/ เอกชน ) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

11 แนวคิดการบริหารบริการ P&P ปี 2558
การจัดซื้อ/จัดจ้าง - การเกิดโรคธาลัสซีเมียในเด็กแรกเกิดลดลง เด็กที่มีภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนส์ได้รับการดูแล ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นลดลง การบริหารระดับประเทศ การดำเนินงานโครงการ NPP ลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ อัตราป่วย อัตราตาย ที่เป็นภาระโรคของประเทศ การบริหารระบบบริการ P&P การสร้างการมีส่วนร่วม_ท้องถิ่น ประชาชนแต่ละกลุ่มวัยได้รับบริการP&P ตามสิทธิประโยชน์ การบริหาร ระดับพื้นที่ การบริการservice base

12 1. งบค่าบริการเหมาจ่ายรายหัว 1.4 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ข้อเสนอผ่านความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ดังนี้ จัดกลุ่มใหม่โดยรวมรายการย่อย ให้มีการบริหารแบบ Global budget ระดับเขต ภายใต้กลไก อปสข. กรอบแนวทางหลักของการจ่ายเงิน ให้จ่ายเหมาจ่ายตามจำนวน ประชากร ผลงานบริการ/อัตราความครอบคลุม และคุณภาพ ผลงานบริการ รวมทั้งการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับ ท้องถิ่นหรือพื้นที่ตามมาตรา 47

13 กรอบแนวทางการบริหารงบ P&P ปี 2558
( บาท x ปชก. ทุกสิทธิ ล้านคน) งบที่ได้รับ บาท/คน UC pop คน (ก) NPP & Central Procurement (27 บาท/คน) (ข) P&P ในชุมชน (45 บาท/คน) (ค) P&P basic services ( บาท/คน) บริหารแบบ global budget ระดับเขตสำหรับเขต 1-12 จัดสรรให้กองทุนท้องถิ่นที่มีความพร้อม หากมีเงินเหลือให้ ปรับเกลี่ยเป็น P&P basic services โดยความเห็นชอบจาก อปสข. สำหรับ สปสช.เขต 13 ซึ่งยังไม่มีกองทุนฯท้องถิ่น ให้ สปสช.จัดสรรเป็น P&P basic services 1. บริหารแบบ global budget ระดับเขต โดยคำนวณ GB ระดับเขตตามจำนวนประชากรโครงสร้างกลุ่มอายุ ผลงานบริการ/อัตราความครอบคลุมบริการ 2. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่าย ให้เป็นไปตามกรอบแนวทางและหลักเกณฑ์กลาง และเพิ่มเติมหลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายในระดับพื้นที่ได้โดยต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. 3.กรอบแนวทางและหลักเกณฑ์กลางการจ่ายค่าใช้จ่าย มีดังนี้ ไม่น้อยกว่า 20 บาทต่อคนจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ รวมกับเงินปฐมภูมิตามเกณฑ์ QOF โดยจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการ ไม่เกิน 8 บาทต่อคน สำหรับบริการที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงบริการหรือแก้ปัญหาพื้นที่ ระดับเขต/จังหวัด ตามความจำเป็นทางสุขภาพ โดยจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงาน/องค์กร/ภาคประชาชน กรณีพื้นที่ สปสช.เขต 13 กทม. ให้สามารถปรับค่าใช้จ่ายได้มากกว่าที่กำหนด โดยความเห็นชอบของ อปสข. ไม่เกิน 5 บาทต่อคน สำหรับสนับสนุนและส่งเสริมระบบ การกำกับติดตาม/ประเมินผล ระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ โดยจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงาน/องค์กร/ภาคประชาชน ส่วนที่เหลือ (ประมาณ บาทต่อคน) จ่ายแบบเหมาจ่ายที่อาจปรับด้วยโครงสร้างอายุ/ผลงานบริการ และ/หรือจ่ายตามรายการบริการ โดยจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการ วัคซีน สมุดสุขภาพ บริการปัญหาระดับ ประเทศ : TSH / Thalassemia / Child development / Teenage pregnancy ไม่เกิน 1 บาทต่อคน เป็นค่าสนับสนุนส่งเสริมระบบ การกำกับติดตาม/ประเมินผล ประมาณการณ์ปี ,804,561,973 (73.80 บ/ปชกทุกสิทธิ์) ประมาณ 34% ของงบพท.ทั้งหมด(214.40) เพิ่มประมาณ บ/ปชก งบปี ,975,488,372 (61.79 บ/ปชก.ทุกสิทธิ์)  ประมาณ 32% ของงบ PPB (192บ)

14 สรุปสิ่งที่แตกต่างของปี 57 และ 58
ปี 2557 ปี 2558 NPP -เพิ่มกลุ่มเป้าหมายวัคซีนไข้หวัดใหญ่ อีก 2 กลุ่ม คือ 1) หญิงตั้งครรภ์>4เดือน 2) เด็ก 6 เดือน-2 ปี - งบสนับสนุนภายใต้งบ PP_สนับสนุน จำนวน 1.5 บาท/ปชก. -เพิ่มกลุ่มเป้าหมาย EPI อีก 2 กลุ่ม คือ 1) MMR/MR เข็มที่2 ในเด็ก 2ปีครึ่ง 2) dT ในกลุ่มอายุ ปี จ่ายค่าตรวจคัดกรอง TSH แทนหน่วยบริการ สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ/M&E โดยใช้งบ 1 บ/ปชก. PPA - การแก้ปัญหาพื้นที่/นโยบายสำคัญระดับประเทศ ระบุทิศทางสนับสนุนองค์กรเอกชน/ภาคประชาชนดำเนินการหรือร่วมให้บริการในกองทุนสุขภาพชุมชน รวมทั้งงบในระดับเขต/จังหวัดด้วย - จ่ายค่าตรวจคัดกรอง TSH & Pap smear PP Basic service รวมงบที่มีการบริหารจัดการในระดับพื้นที่ไว้ด้วยกัน (PPA+PPB+PP_สนับสนุน) บริหารวงเงินระดับเขต โดยสปสช.จัดสรรงบเป็นGlobal Budget ระดับเขต ตามจำนวนประชากรโครงสร้างอายุ ผลงานบริการและหรืออัตราความครอบคลุมบริการ ซึ่งแนวทางการจ่ายแก่หน่วยบริการ/หน่วยงานในพื้นที่ให้เป็นอำนาจของ อปสข.ในการพิจารณา ภายใต้กรอบแนวทางกลางที่ คกก.หลักประกันฯกำหนด เขต/จังหวัดไม่ต้องกันงบสำหรับการตามจ่าย ค่าตรวจคัดกรอง TSH แทนหน่วยบริการ PPB -บริหารงบQPบูรณาการกับการบริหารงบQOFของระบบบริการปฐมภูมิ PP_กองทุน ท้องถิ่น - จัดสรรงบสำหรับการสร้างการมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกเป็นการเฉพาะ (แยกจากงบบริการ PP_ระดับพื้นที่) - สปสช.เขต 13 กรุงเทพมหานคร ที่ไม่มีท้องถิ่นร่วมดำเนินการให้ สปสช.ปรับงบไปรวมกับงบ PP Basic service PP_ทันตกรรม -อยู่ภายใต้งบ PPB แต่ยังระบุวงเงิน PP_ สนับสนุน -จัดสรรเป็นGlobal budget ระดับเขตตามจำนวนประชากร

15 งบ P&P ที่จ่ายตรงแก่หน่วยบริการ ปี 2555-2558
(244.76 บ/ปชก.) 2556 (232.36 บ/ปชก.) 2557 (288.88 บ/ปชก.) 2558 (286.40 บ/ปชก.) PP Express demand Capitation (55.40%) PP Basic services Capitation (60%) PP Basic service Capitation /Specific group PP Express demand Capitation (50%) > PP > PPE+Dent = = 61.51% > PP > PPE+Dent = = 60.92% > PP > PPB = = 66.46% > PP > PPB = = 70.32% Specific group (25%) Specific group (44.60%) Workload /Coverage Workload (40%) Workload (25%) Quality Performance QOF QOF คิดเป็น % ของงบ PP ทั้งหมด คิดเป็น 60.92% ของงบ PP ทั้งหมด คิดเป็น % ของงบ PP ทั้งหมด คิดเป็น % ของงบ PP ทั้งหมด

16 การบริหารจัดการงบบริการสร้างเสริมสุขภาพ
ก.สาธารณสุข Policy สปสช. ระดับประเทศ Global budget NPP เขตบริการสุขภาพ สปสช.เขต (อปสข.) ( บ/ปชก) ระดับเขต/จังหวัด Service plan KPI สสจ. บริการทางเลือก(NGO/Social enterprise) ที่เหลือจาก อปท. 45 บ/ปชก. CUP ที่เหลือจาก อปท. ระดับอำเภอ(DHS) PCU PCU อปท. PCU ประชาชน

17 การบริหารงบบริการ P&P ปี 2558
Central Procurement (22.66 บ/ปชก.) 1.ค่าวัคซีน EPI (เพิ่ม MR เด็ก 2 ปีครึ่งและdT ในผู้ใหญ่ อายุ ปี) 2.ค่าวัคซีน&การจัดการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ 3.ค่าจัดพิมพ์สมุดบันทึกสุขภาพ National priority Programs (4.34 บ/ปชก.) ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นนโยบายและ ความสำคัญระดับประเทศ การตรวจยืนยันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียทุกขั้นตอนในคู่เสี่ยง การตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนและการดูแล ต่อเนื่องในราย ที่ตรวจพบความผิดปกติ การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น การตรวจประเมินและดูแลพัฒนาการเด็ก โครงการแก้ไขปัญหาระดับประเทศ ที่ผ่านความเห็นชอบจาก คณะอนุกรรมการ PP สนับสนุนและส่งเสริมระบบเพื่อการเข้าถึงบริการ/คุณภาพบริการ

18 (ก) งบบริการ P&P ระดับประเทศ ปี2558
งบประมาณ จำนวนงปม. (ล้านบาท) บาทต่อประชากรทุกสิทธิ์ งบ ซื้อวัคซีน EPI (ตามแผนปี 57) + Flu(รวมการจัดการ) 1,303 20.01 2. งบพิมพ์สมุดสุขภาพแม่&เด็ก 30 0.46 3. จากกิจกรรมและเงื่อนไขบริการที่ปรับปรุงปี 2558 424.80 6.53 3.1 การป้องกันและควบคุมความผิดปกติแต่กำเนิด - Thalassemia 80 1.23 - TSH 120 1.84 - Down syndrome (ยังไม่ดำเนินการปี 58) 3.2 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคพื้นฐานที่จำเป็น - ให้วัคซีน MMR/MR เข็มที่ 2ในเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง 121 1.86 - การให้วัคซีน dT ในกลุ่มเสี่ยงและผู้ใหญ่อายุ ปี (เฉพาะกลุ่มอายุ 20,30,40,50 ปี) 21.4 0.33 3.3 การดูพัฒนาการเด็ก (เน้นกลุ่ม 9,18,30,42 เดือน) 15 0.23 3.3 การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ - เพิ่มการคุมกำเนิด ในกลุ่มอายุ <25 ปี (ปี 58 ทำเฉพาะวัยรุ่น <20 ปีกรณีใส่ห่วงและยาฝังคุมกำเนิด) 2.4 0.04 4. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฯ 2558 65 1.0 รวมงบบริการ P&P ระดับประเทศ 1,757.80 27.00 ยาฝัง 2,500 X500 = 1,250,000 บ. ห่วง 800 x 2000 = 1,600,000 บ. เด็กมีปัญหาพัฒนาการสมวัย 30% ไม่สมวัย 70% 1) เป็นชนิดไม่รุนแรง70% ซึ่งพ่อแม่แก้ไขเองได้ถ้าตรวจพบและรู้วิธีกระตุ้น 2) ต้องการความช่วยเหลือจากระบบ สธ. 30% หมายเหตุ กรณีให้ dT ในอายุ ปี (ตามข้อเสนอของกรมควบคุมโรค) ต้องใช้งบ 130 ลบ. หรือ บ/ปชก.ทุกสิทธิ์)

19 (ก) งบบริการ P&P ระดับประเทศปี2558
งบประมาณ จำนวนงปม. (ล้านบาท) บาทต่อประชากรทุกสิทธิ์ งบ ซื้อวัคซีน EPI (ตามแผนปี 57) + Flu(รวมการจัดการ) + MMR/MR เข็มที่ 2ในเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง + dT ในกลุ่มเสี่ยงและผู้ใหญ่อายุ ปี 1,445.40 22.20 2. งบพิมพ์สมุดสุขภาพ 30.00 0.46 3. โครงการ NPP ปี 2558 222.40 3.34 4. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฯ 2558 65.00 1.00 รวมงบบริการ P&P ระดับประเทศ 1,757.80 27.00 ยาฝัง 2,500 X500 = 1,250,000 บ. ห่วง 800 x 2000 = 1,600,000 บ. เด็กมีปัญหาพัฒนาการสมวัย 30% ไม่สมวัย 70% 1) เป็นชนิดไม่รุนแรง70% ซึ่งพ่อแม่แก้ไขเองได้ถ้าตรวจพบและรู้วิธีกระตุ้น 2) ต้องการความช่วยเหลือจากระบบ สธ. 30%

20 หลักเกณฑ์การพิจารณา NPP
1. สามารถตอบสนองต่อปัญหาหรือความต้องการบริการ P&P ใน ภาพรวมระดับประเทศโดยมีข้อมูลเชิงประจักษ์ (Evidence base) 2. มีแนวทางการดำเนินงานชัดเจนได้แก่ มีกลุ่มประชากรเป้าหมาย มี ยุทธศาสตร์และมาตรการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน (ไม่ใช่ Model Development) หรือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ต้องการระบบบริหาร จัดการและระบบบริการเพิ่มเติมใหม่ เพราะระบบปกติในพื้นที่มี ข้อจำกัด 3. เป็นแผนงานโครงการที่มีระยะเวลาดำเนินงานต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 3 ปี และมีระยะเปลี่ยนผ่านเพื่อเข้าสู่ภารกิจปกติในระดับ พื้นที่ จากความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ (17 มค. 54)

21 แผนการดำเนินงาน NPP ปี2558
ผู้ดำเนินงานโครงการ 1. การป้องกันและควบคุมความผิดปกติแต่กำเนิด - Thalassemia - TSH - Down syndrome (นำร่องการดำเนินงาน) กรมอนามัย/ กรมวิทยาศาสตร์ฯ/กรมการแพทย์ 2. การสนับสนุนส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (เน้นกลุ่ม 9,18,30,42 เดือน) กรมสุขภาพจิต  3.การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ (ปี 58 เน้นวัยรุ่น <20 ปี กรณีใส่ห่วงและยาฝังคุมกำเนิด) องค์กรเอกชน

22 แผนการดำเนินงาน NPP ปี2558 เพิ่มเติม
ผู้ดำเนินงานโครงการ 4. การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง - การคัดกรองและดูแลโรคมะเร็งปากมดลูก กรมการแพทย์/ กรมอนามัย 5. การสนับสนุนส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ - การคัดกรองภาวะตาบอดจากต้อกระจก/ข้อเข่าเสื่อม/ ความต้องการฟันเทียม

23 แผนงานหลักสำหรับการใช้งบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการP&P_ระดับประเทศ ปี2558
แผนงาน/โครงการ กิจกรรม เป้าหมาย หน่วยงาน 1.การป้องกันและควบคุมโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ สนับสนุนกลไกบริหารจัดการและสนับสนุนระดับประเทศ/เขต พัฒนาระบบบริการและเครือข่าย พัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการ พัฒนาแนวเวชปฏิบัติ ติดตามและประเมิน มีศูนย์ประสานการบริหารจัดการ มีศูนย์ประสานและสนับสนุนระดับเขต มีผังระบบเครือข่ายบริการแต่ละเขต มีจำนวนผู้ได้รับการพัฒนาศักยภาพ มีแนวเวชปฏิบัติที่ปรับปรุง กรมอนามัย / กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์/หน่วยงานวิชาการ 2.การป้องกันและควบคุมภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกิด สนับสนุนระบบติดตามทารกที่มีผลการตรวจยืนยันผิดปกติให้เข้าถึงบริการภายใน 1 เดือน สนับสนุนระบบติดตามดูแลเด็กอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี มีหน่วยงานกลางรับผิดชอบดำเนินงาน สถาบันเด็กฯ / กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3.การตรวจประเมินและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก พัฒนาระบบส่งต่อ มีผังการส่งต่อ กรมอนามัย . 4.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการ มีบริการป้องกันและแก้ไข 5.การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและการดูแลต่อเนื่อง การพัฒนาระบบการติดตาม/ดูแลให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลต่อเนื่อง การติดตามและประเมิน มีการพัฒนาระบบทะเบียนและข้อมูล/การส่งต่อ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 6. การเฝ้าระวังและประเมินผลการเข้าถึงบริการ P&P การสำรวจในระดับประชากร การสำรวจระดับหน่วยบริการ การประเมินผลเฉพาะเรื่อง/ประเด็น รายงานสถานการณ์การเข้าถึงบริการและคุณภาพบริการ หน่วยงานวิชาการ/กรมอนามัย

24 ส่วนที่ (ข) P&P กองทุนท้องถิ่น 45 บาท/คน
เกณฑ์ การจ่าย บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ดำเนินการในชุมชน ใน รูปแบบความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามประกาศของ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยจัดสรรให้กองทุน หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ที่มีความพร้อมในการ เข้าร่วมดำเนินงาน และบริหารจัดการในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตาม เจตนารมณ์ แห่ง พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ มาตรา 18(8) และ (9) และมาตรา 47 การสนับสนุน/ -สปสช.จัดสรรวงเงินตามจำนวนท้องถิ่นที่มีอยู่ในพื้นที่ให้ สปสช. เขตดำเนินการ สาขาเขตเบิกจ่ายงบ 45 บาท/คน โอนให้กองทุนฯ และท้องถิ่นสมทบตามอัตราที่กำหนด กรณีที่มีงบคงเหลือให้พิจารณาดำเนินการตามการบริหารงบส่วน (ค) P&P Basic service สำหรับกรณีพื้นที่ สปสช.เขต 13 กรุงเทพมหานคร ซึ่งยังไม่มีกองทุน หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น ให้ สปสช.จัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายส่วน (ค) P&P Basic service

25 ส่วนที่ (ค) P&P บริการพื้นฐาน 214.40 บาท/คน (P&P basic services)
กรอบ กิจกรรม การบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามสิทธิประโยชน์ (รวมทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน) ในทุกกลุ่มวัย ทั้งเชิงรับและเชิงรุก คุณภาพผลงานบริการ การบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเพื่อการแก้ปัญหาพื้นที่ (รวมถึงพื้นที่พิเศษ/กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ) อาทิ –การตรวจคัดกรองตาต้อกระจก -การจัดบริการเชิงรุกเพื่อให้ผู้ประกันตน/แรงงานนอกระบบ/คนชายขอบเข้าถึงบริการ -การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ -การจัดบริการเชิงรุกหรือบริการเสริมเข้าไปในพื้นที่/โรงเรียนหรือสถานประกอบการ -การสนับสนุนภาคประชาชน/องค์กรเอกชนเพื่อจัดบริการสำหรับ คนชายขอบหรือจัดบริการเสริมเพิ่มเติมจากปกติ เป็นต้น ทั้งนี้ต้องเป็นค่าบริการเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการ สนับสนุนและส่งเสริมระบบ เพื่อลดปัญหา(gap) การเข้าถึงบริการ/คุณภาพบริการ รวมทั้งการกำกับติดตามและประเมินผล ระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ

26 หลักการจัดสรรงบ P&P basic service ปี 2558
(3) P&P_flat rate (128.01บ./คน) หน่วยบริการ/ สถานบริการ/ หน่วยงานต่างๆ/ภาคประชาชน P&P basic service ( บาท x ปชก. ทุกสิทธิ ล้านคน) (1) P&P workload (21.47 บ./คน) (2) P&P age group (64.92 บ./คน) ระดับประเทศสปสช. Global budget_ระดับเขต ( – บ/คน) ระดับเขต สปสช.เขต ภายใต้ความเห็นชอบของ อปสข. (1) P&P workload (2) P&P age group (3) P&P_flat rate QoF (ไม่น้อยกว่า 20 บ/คน) PPA (ไม่เกิน 8 บ/คน) PPD (ไม่เกิน 5 บ/คน) PP_หน่วยบริการ workload/age group/flat rate (งบที่เหลือ) หักเงินเดือน ระบบบริการ หน่วยบริการ/ สถานบริการ/ หน่วยงานต่างๆ/ภาคเอกชน/ภาคประชาชน

27 ส่วนที่ (2) P&P บริการพื้นฐาน 214.40 บาท/คน (P&P basic services)
แนวทางการจัดสรร บริหารวงเงินระดับเขต โดยสปสช.จัดสรรงบเป็นGlobal Budget ระดับเขตตาม จำนวนประชากร โครงสร้างอายุ ผลงานบริการและหรืออัตราความครอบคลุมบริการ ทั้งนี้แนวทางการจ่ายแก่หน่วยบริการ/หน่วยงานในพื้นที่ให้เป็นอำนาจของ อปสข.ใน การพิจารณา ภายใต้กรอบแนวทางกลางที่ คกก.หลักประกันฯกำหนด การบริหารจัดการ/การสนับสนุน/การจ่าย (3.1) ไม่น้อยกว่า 20 บาท/คน งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (รวมกับงบปฐมภูมิ) เพื่อจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานบริการตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ(QOF) (3.2) ไม่เกิน 8 บาท/คน สำหรับบริการที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงบริการหรือแก้ปัญหาพื้นที่ ระดับเขต/จังหวัด ความจำเป็นด้านสุขภาพจัดสรรแก่หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงาน/องค์กร/ ภาคประชาชน (3.3) ไม่เกิน 5 บาท/คน สำหรับสนับสนุนและส่งเสริมระบบ เพื่อลดปัญหา(gap) การเข้าถึงบริการ/คุณภาพ บริการ รวมทั้งการกำกับติดตามและประเมินผล ระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ โดย จัดสรรแก่หน่วยงาน/องค์กร/ภาคประชาชน ทั้งนี้ ให้กำหนดเป้าหมายที่ตอบสนอง การเข้าถึงบริการ/คุณภาพบริการ (3.4) ส่วนที่เหลือ (ประมาณ บาท/คน) จ่าย แบบเหมาจ่าย จัดสรรในลักษณะเหมาจ่ายตามหัวประชากรและปรับด้วยโครงสร้างอายุ ผลงาน บริการ และหรือจ่ายตามรายการบริการ โดยจัดสรรแก่หน่วยบริการ/สถานบริการที่ร่วม ให้บริการ ทั้งนี้ภายใต้ตัวชี้วัด/เป้าหมายที่กำหนดร่วมกันในพื้นที่ งบส่วนนี้สามารถปรับเกลี่ยระหว่างหน่วยบริการภายในจังหวัด ภายใต้การหารือ ร่วมกันในระดับจังหวัด โดยสสจ./สปสข.เขต และเสนอต่อ อปสข.เพื่อพิจารณา ทั้งนี้งบส่วนนี้จะหักเงินเดือนก่อนจัดสรร

28 กรอบระยะเวลาและขั้นตอนการดำเนินงาน

29 แนวทางการใช้งบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการ P&P_ระดับเขต ปี2558
เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ การกำกับติดตามและประเมินผล การมีข้อมูลเชิงประจักษ์เกี่ยวกับประสิทธิภาพประสิทธิผล การบริการ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ การแพทย์แผนไทยเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระบบสุขภาพชุมชนเพื่อเพิ่มการเข้าถึงหรือคุณภาพบริการ การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนหรือ หน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้อง

30 แนวทางและเป้าหมายงบสนับสนุนและส่งเสริมระบบบริการ P&P_ระดับเขต ปี2558
แผนงาน/โครงการ กิจกรรม 1.การพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 2. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่น การพัฒนาเครือข่ายป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย 3.การส่งเสริมกลไกสนับสนุนและติดตามสุขภาพช่องปาก การสนับสนุนกลไกระดับเขต การพัฒนาศักยภาพ 4.การพัฒนาระบบ กลไกเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตามกลุ่มวัย ส่งเสริม/สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบ กลไกเพื่อการเข้าถึงบริการ 5. การสนับสนุนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อบริหารจัดการและกำกับติดตามการทำงานของหน่วยบริการ การสนับสนุน การกำกับติดตาม 6.การสนับสนุนการพัฒนา บริการเพื่อการเข้าบริการ ตามบริบทของพื้นที่. 7.... มีระบบ/กลไก เพื่อ เพิ่มการเข้าถึงบริการ ของประชาชน มีรูปแบบการจัดบริการ ที่เอื้อ/ส่งเสริม การ เข้าถึงบริการของ ประชาชนในพื้นที่ พิเศษ (เขตเมือง/ ทุรกันดาร) หรือ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น กลุ่มผู้ใช้แรงงาน/ เกษตรกร ฯลฯ มีบริการทางเลือก เพื่อเพิ่มการเข้าถึง บริการ เป้าหมาย อย่างน้อย 3 เรื่อง

31 กลุ่มมารดาและทารก 4 ตัว กลุ่มปฐมวัย 6 ตัว กลุ่มวัยเรียน 4 ตัว
การกำกับติดตามผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดร่วม กสธ. และ สปสช.ชี้วัด 19 ตัว กลุ่มมารดาและทารก 4 ตัว กลุ่มปฐมวัย ตัว กลุ่มวัยเรียน ตัว กลุ่มวัยทำงาน 2 ตัว กลุ่มสูงอายุ 2 ตัว กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 1 ตัว มติคณะอนุกรรมการ P&P ครั้งที่ 11/56 เมื่อวันที่ 25 ธค.56

32 ตัวชี้วัดที่ กสธ. และ สปสช ร่วมติดตามและประเมิน
ตัวชี้วัดที่ กสธ. และ สปสช ร่วมติดตามและประเมิน กลุ่มมารดา 1. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า หรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3. ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 4. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อย กว่าร้อยละ 90

33 ตัวชี้วัดที่ กสธ. และ สปสช ร่วมติดตามและประเมิน
ตัวชี้วัดที่ กสธ. และ สปสช ร่วมติดตามและประเมิน กลุ่ม 0-5 ปี 5 เด็กที่มีผลตรวจ TSH ผิดปกติได้รับการติดตามเพื่อตรวจยืนยันไม่น้อย กว่าร้อยละ 90 6. เด็ก 18 เดือน ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย (อาจบูรณาการตรวจ ช่องปาก) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 7. เด็ก 18 เดือนที่ได้รับการตรวจพัฒนาการค้นพบว่าพัฒนาการล่าช้าไม่ ต่ำกว่าร้อยละ10 8. เด็กอายุ ครบ 2 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิดตามเกณฑ์(ยกเว้น MMR) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 9. เด็กอายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีน MMR ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 10. ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50

34 ตัวชี้วัดที่ กสธ. และสปสช ร่วมติดตามและประเมิน
กลุ่มเด็กวัยเรียน 11. เด็ก ป. 1 ได้รับการตรวจช่อง ปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 12. เด็ก ป. 1 ได้รับการเคลือบหลุม ร่องฟันไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 13. จำนวนเด็ก ป. 1 ได้รับบริการ comprehensive care ไม่น้อย กว่าร้อยละ 17 ของจำนวนเด็ก ป. 1 ทั้งหมดในพื้นที่ 14. เด็ก 6-12 ปี อ้วนไม่เกินร้อยละ 15 กลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน 15. ประชาชนอายุ ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน / ความดันไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 16. สตรี ปี ได้รับการ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก อย่างน้อย 1 ครั้งภายใน 5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

35 ตัวชี้วัดที่ กสธ. และสปสช ร่วมติดตามและประเมิน
กลุ่มผู้สูงอายุ 17. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง เบาหวาน&ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 18. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ในภาวะผิดปกติ 3 กลุ่ม ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 30 กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ 19. การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ให้กับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ (ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 โรค หญิง มีครรภ์ อายุครรภ์ > 4 เดือน เด็กอายุ 6 เดือน- 2 ปี) ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 25 ตัวชี้วัดระดับผลกระทบ ผลลัพธ์ และกระบวนการ ยึดตามที่ กสธ กำหนด เฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับ สปสช.

36 แนวทางการติดตามและประเมินผลบริการ P&P ปี 2558 ระดับประเทศ :- เสนออนุกรรมการ P&P
การเบิกจ่ายงบ – e-budget รายงานผลตามตัวชี้วัดที่กำหนด จากแหล่งต่อไปนี้: ชุดข้อมูลบริการผู้ป่วยนอกและP&Pรายบุคคล และชุดข้อมูลบริการผู้ป่วยใน การสำรวจ & วิจัย การทบทวนผลการศึกษา /สำรวจ/วิจัย การตรวจเยี่ยมและนิเทศงาน ฐานทะเบียนราษฎร์ การประเมินผล การประเมินผลภายนอก (โดยหน่วยงานวิชาการ) การสำรวจระดับ Population-based > accessibilty การสำรวจระดับ Provider-based > quality of service การประเมินผลเฉพาะเรื่อง/ประเด็น

37 แนวทางการติดตามและประเมินผลบริการ P&P ปี 2558 ระดับพื้นที่ :- เสนอ อปสข.
- การเบิกจ่ายงบ :– จากโปรแกรม e-budget - รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด/เป้าหมายที่กำหนดร่วมกันในพื้นที่ จาก แหล่งข้อมูลที่กำหนดร่วมกันในพื้นที่ เช่น ชุดข้อมูลมาตรฐาน 43 แฟ้มจากหน่วย บริการ/สสจ. รายงานข้อมูลผลการปฏิบัติงานตามแผนงาน/แผนปฏิบัติการ เป็นต้น - หน่วยงาน /องค์กร/ ภาคประชาชน ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณต้องรายงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์การดำเนินงานตามที่ตกลง และส่งรายงานผลการดำเนินงานเมื่อ สิ้นสุดแผนงานหรือปีงบประมาณ รวมทั้งให้มีการรายงานความก้าวหน้าและสรุปผล การดำเนินงานต่อที่ประชุม อปสข.ตามระยะเวลาที่กำหนด - ลงตรวจเยี่ยมและสุ่มตรวจการบริการในพื้นที่ การประเมินผล - การสำรวจในระดับประชากรตามที่ได้รับมอบหมายหรือดำเนินการเองโดยไม่ซ้ำซ้อนกับ ระดับประเทศ - การสำรวจเฉพาะเรื่องตามสภาพปัญหาของพื้นที่

38 สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการออกแบบการจัดสรร_ระดับพื้นที่
นโยบาย - การเข้ารับได้ที่หน่วยบริการภายในจังหวัด/เขต ที่อยู่อาศัยหรือ ลงทะเบียนไว้ - ”ฝากท้องทุกที่ ฟรีทุกสิทธิ” ที่กำหนดให้สามารถเข้ารับบริการ กับสถานบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หน่วยบริการ/สถานบริการ ได้รับความเป็นธรรมจากการจัดสรร ค่าใช้จ่ายที่สอดคล้องกับการให้บริการ การกำหนดเป้าหมายผลงานบริการของหน่วยบริการ/สถานบริการ ภายใต้งบประมาณที่ได้รับจัดสรร การกำหนดแนวทางการกำกับติดตาม และการดำเนินงานหาก ผลงานบริการไม่สอดคล้องกับเป้าหมายที่กำหนด การจัดสรรงบ Non uc งบที่เหลือจากการเข้าร่วมของท้องถิ่น (งบกองทุนท้องถิ่น) งบกองทุนท้องถิ่น ในส่วนของ เขต 13 กรุงเทพ (ปี58 = 5.45 บ/คน)

39 สปสช.จึงมีการขึ้นทะเบียน “หน่วยบริการ” ประเภทต่างๆ
แต่หากมีเหตุสมควร ก็จ่ายเงินกองทุนฯให้ “สถานบริการ” ได้


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google