วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)


ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้ยานพาหนะเพื่อการจัดส่ง สินค้า เรื่องการดูแลรักษาเครื่องยนต์ เบื้องต้น ของนักเรียนชั้น ปวช. ปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้รถยนต์
การสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทาง การศึกษาทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล

ความเป็นมาและ ความสำคัญของปัญหา การวิจัยครั้งนี้เกิดจากจุดเริ่มต้นเล็กๆ ที่ผู้วิจัยต้องการให้นักเรียนเรียนรู้ คณิตศาสตร์จากนามธรรมไปสู่รูปธรรม การเรียนการสอนเรื่องวงกลม ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นเรื่องเกี่ยวกับเรขาคณิต ในการยกตัวอย่างต้องวาดรูป บนกระดานหรือใช้สื่อแสดงหน้าชั้นเรียน ถ้าครูวาดรูปวงกลมจากวงเวียนใหญ่ ก็จะทำให้เสียเวลาอีกทั้งจะต้องสอนเนื้อหาเดิมในคาบเรียนถัดไปก็จะต้อง วาดรูปเดิมซ้ำอีกทำให้น่าเบื่อทั้งผู้สอนและผู้เรียน ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษา โปรแกรม GSP สร้างสื่อการสอนเรื่องวงกลม เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะและ มองเห็นภาพได้ชัดเจน ภาพวงกลมที่สร้างโดยโปรแกรม GSP สามารถ เคลื่อนที่ได้ในการพิสูจน์ทฤษฎีบท และถ้าสงสัยเนื้อหาใด ก็สามารถ ย้อนกลับมาดูใหม่ได้เพื่อทบทวนบทเรียน ซึ่งโปรแกรม GSP เป็นสื่อ เทคโนโลยีที่ช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนคณิตศาสตร์โดยการสร้างองค์ ความรู้ด้วยตนเอง และเป็นการเรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นสื่อที่ ช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะของการนึกภาพ ทักษะของกระบวนการ แก้ปัญหา นอกจากนี้การใช้โปรแกรม GSP ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เป็นการบูรณาการสาระที่เกี่ยวข้องกับความรู้คณิตศาสตร์ และทักษะด้าน เทคโนโลยีเข้าด้วยกัน การที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจะทำให้ผู้เรียนเกิด ความกระตือรือร้น และสนุกสนานในการทำกิจกรรม มีเจตคติที่ดีต่อวิชา คณิตศาสตร์ตลอดจนส่งเสริมนักเรียนให้มีโอกาสพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนและเกิดการเรียนรู้ได้อย่างเต็มตามศักยภาพ และนำความรู้ที่ได้ไป เชื่อมโยง การเรียนคณิตศาสตร์ในชั้นสูงต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 2 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง วงกลม โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s sketchpad (GSP) รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่าง ก่อนการใช้และหลังการใช้ 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการ เรียนเรื่องวงกลม โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6

วิธีดำเนินกา ร ประชากร / กลุ่มเป้าหมาย 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ของ โรงเรียนทานตะวันไตรภาษา อำเภอเมือง จังหวัด สมุทรสาคร ที่เรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน จำนวน 64 คน (3 ห้องเรียน ) 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 6/2 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 จำนวน 23 คน 1 ห้องเรียน ซึ่งได้มา โดยวิธีสุ่มแบบเจาะจง ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ ชุดการสอนเรื่องรูปวงกลม โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา คณิตศาสตร์เรื่อง รูป วงกลม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 2. แบบทดสอบหลังเรียน 3. โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP)

แผนการดำเนินการวิจัย การดำเนินการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้กำหนด แผนการดำเนินการวิจัย ไว้ดังนี้ เดือน ปีกิจกรรม ธันวาคม 2559 เลือกนักเรียนแบบกลุ่ม 1 ห้อง ซึ่งได้มาจาก การสุ่มแบบเจาะจง ธันวาคม 2559 ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ธันวาคม 2559 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเรียนการสอน ธันวาคม 2559 แนะนำและสอนการใช้โปรแกรม GSP ใน การสร้างรูปเรขาคณิตเบื้องต้น 5 ครั้ง ๆละ 20 นาทีตอนพักกลางวัน ธันวาคม 2559 – มกราคม 256. ดำเนินการสอน เรื่อง รูปวงวงกลม โดยใช้ สื่อการสอนโปรแกรม GSP ใช้เวลา 13 ครั้ง ๆ ละ 20 นาที ตอนพักกลางวัน กุมภาพันธ์ 2560 ให้นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียน เพื่อวัด ความสามารถเรื่อง รูปวงกลม โดยใช้ โปรแกรม GSP กุมภาพันธ์ 2560 วิเคราะห์และประเมินผล กุมภาพันธ์ 2560 สรุปผลการการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เรื่อง รูป วงกลมโดยใช้โปรแกรม GSP

สรุป ผลการวิจั ย - สื่อการสอนเรื่องวงกลมโดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) เกี่ยวกับ ความตรงตาม หลักวิชา ความเหมาะสมในการจัดลำดับประสบการณ์ ความ สอดคล้องของสื่อการสอนโดยใช้โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) กับเนื้อหา ความต่อเนื่อง ของเนื้อหาในบทเรียน ความเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ความเหมาะสมของขนาดและความชัดเจนของตัวอักษร อยู่ ในระดับมากที่สุด สำหรับเทคนิคการนำเสนอมีความ เหมาะสมและเร้าความสนใจของนักเรียน อยู่ในระดับมาก และโดยภาพรวมของระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญจะ อยู่ในระดับ มากที่สุดมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.64 และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ประสิทธิภาพของสื่อการสอนเรื่องวงกลม มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 โดยมีค่า 87.33/ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการ เรียนโดยใช้สื่อการสอนเรื่องวงกลมมีความแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนหลังการใช้สื่อการสอนเรื่องวงกลม สูงกว่าก่อนใช้สื่อ - ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการ เรียนโดยใช้สื่อการสอนเรื่องวงกลมพบว่านักเรียนมีความ คิดเห็นที่ดีเกี่ยวกับการเรียนโดยใช้สื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP)