1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. อำนวยการปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัย และพื้นที่เกิดภัยขนาดใหญ่
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
การเฝ้าระวังและคุ้มครองเด็กตำบลดอนแก้ว
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
โครงการ / กิจกรรม ประจำปี ๒๕๕๖ ฝ่ายพัฒนาการมีส่วนร่วม สำนักการมีส่วนร่วมในกระบวนการ เลือกตั้ง มี ๔ โครงการ ( ๖ กิจกรรม ) ส่วนกลาง ดำเนินการเอง มี ๒ กิจกรรม.
กิจกรรม การนำกองทุนฯ ไปใช้ประโยชน์ - ช่วยเหลือการบำบัดผู้เสพฯ ที่อยู่ในหมู่บ้าน / ชุมชน - กรรมการชุมชน... - ระเบียบชุมชน... ทุนปัญญา ทุนศรัทธา ทุนขวัญถุง.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครั้งที่ ๓/๒๕๖๑
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557

1. ผลการดำเนินงาน / ปัญหา อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ ปี 2556

3 เป้าหมาย ป้องกันและเฝ้าระวัง สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด เยาวชนวัยเสี่ยง ( อายุ ปี ) - รร. ขยายโอกาส - รร. มัธยมศึกษา - รร. อาชีวศึกษา - สถาบันอุดมศึกษา เยาวชนก่อนวัยเสี่ยง ( อายุ ปี ) นร. ป.5 - ป.6

4 แนวทางดำเนินงาน ป้องกันและเฝ้าระวัง ยาเสพติด 1. วิทยากรป้องกันฯ เข้าสอน อย่างต่อเนื่อง - พัฒนาวิทยากรป้องกันฯ เช่น ครู D.A.R.E. ผู้นำศาสนา ครูทหาร ครูผู้สอนฯลฯ - ส่งเสริมวิทยากรฯ เข้าสอน ในโรงเรียน - ครู D.A.R.E. สอน นร. ป.6 - ผู้นำศาสนา ครูทหาร ครูผู้สอนฯลฯ สอน นร. ป.5 - ป.6 2. จัดกิจกรรมสร้างเสริม ทักษะชีวิต อาทิกิจกรรมกลุ่ม เพื่อน / จิตอาสา / ให้ความรู้ เกี่ยวกับยาเสพติด / กีฬา และนันทนาการ ฯลฯ สร้างภูมิคุ้มกันใน นร. ป.5 - ป.6 - จัดตำรวจปฏิบัติหน้าที่ ประจำโรงเรียน - ตั้งศูนย์เครือข่าย พสน. ระดับจังหวัด - ตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นร. เสี่ยง เช่น - ค่ายปรับเปลี่ยน พฤติกรรม - จิตสังคมบำบัดใน โรงเรียนฯลฯ - ส่งต่อผู้เสพเข้ารับการ บำบัดรักษาที่อื่น - ตั้งสภานักเรียน / องค์กร วิชาชีพ / องค์การนศ. - ตั้งหน่วยลูกเสือต้านภัยยา เสพติด - สำรวจพื้นที่เสี่ยง - ตรวจเยี่ยมพื้นที่เสี่ยง - ทำกิจกรรมป้องกันฯร่วมกับ ผู้ประกอบการฯ

5 พระสอนศีลธรรมครู D.A.R.E. ครูตำรวจ ฯลฯ ครูผู้สอนในโรงเรียน

การสร้างภูมิคุ้มกันฯ ปี 2556 การเสริมทักษะ ชีวิต ที่ หลากหลาย ทั้ง จากกิจกรรม และวิทยากร เข้าสอน

การส่งเสริมกิจกรรมป้องกัน เฝ้าระวังฯ การส่งเสริมกิจกรรมป้องกัน เฝ้าระวัง ดูแล ช่วยเหลือ ให้โอกาส ส่งเสริมกิจกรรม สร้างสรรค์ จิตอาสา ฯลฯ

การพัฒนาศักยภาพ เยาวชน

ปัญหา / อุปสรรค 1. จำนวนวิทยากรป้องกันฯ เพื่อสร้างภูมิฯ ให้กับ เด็กก่อนวัยเสี่ยง ไม่เพียงพอ 2. งปม. ที่จัดสรรให้กับสถานศึกษาจัดกิจกรรม ป้องกันฯ - ไม่ครบสถานศึกษาเป้าหมาย ร้อยละ ๓๐ จากเป้าหมาย ( จำนวน ๑๔ แห่ง )

1. ขยายการสร้างภูมิฯ ให้ครอบคลุมนักเรียนก่อน วัยเสี่ยง 2. เร่งผลิตวิทยากรป้องกันฯ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันฯ ในนักเรียน 3. จัดสรร งปม. ให้กับสถานศึกษาเป้าหมายทุก แห่ง โดยจัดสรรงบผ่านสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ข้อเสนอแนะ

2. แผนการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด ในสถานศึกษา ปี 2557

แผน 3 การสร้างภูมิและป้องกัน ยาเสพติด 1. สร้างภูมิคุ้มกันเยาวชน ป.4- ป.6 2. พัฒนาความเข้มแข็ง รร. ขยายโอกาส / มัธยมฯ / อาชีวฯ / อุดมฯ ทุกแห่งทั้งรัฐและเอกชน 3. ควบคุม / ลดปัจจัยเสี่ยงรอบ รร. ขยายโอกาส / มัธยมฯ / อาชีวฯ / อุดมฯ ทุกแห่งทั้งรัฐและเอกชน 4. ป้องกันเยาวชนนอกสถานศึกษาใน ม./ ชช. ระดับ สถานประกอบการมีระบบป้องกันตามเกณฑ์มาตรฐาน ฯ เป้าหม าย

ป้องกันผู้เสพรายใหม่ วัยก่อนเสี่ยง : ทักษะชีวิต / คุณธรรม จริยธรรม วัยเสี่ยง : มีระบบเฝ้าระวังใน รร./ เปลี่ยนกลุ่มเสี่ยงเป็นพลัง / เกิดเครือข่าย เยาวชน ครอบครัว : ครอบครัวเข้มแข็ง สถานประกอบการ : มีระบบเฝ้าระวังใน โรงงาน พื้นที่เสี่ยง : ภาคประชาสังคมมีส่วน ร่วม / ลดพื้นที่เสี่ยง รณรงค์ / วิชาการ : สร้างกระแส / พัฒนา องค์ความรู้ และเผยแพร่วิชาการ

เป้าหมาย ป้องกันและเฝ้าระวัง สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด เยาวชนวัยเสี่ยง ( อายุ ปี ) - รร. ขยายโอกาส 7,998 แห่ง - รร. มัธยมศึกษา 2,893 แห่ง - รร. อาชีวศึกษา 695 แห่ง - สถาบันอุดมศึกษา 174 แห่ง เยาวชนก่อนวัยเสี่ยง ( อายุ ปี ) นร. ป.4 - ป.6

แนวทางดำเนินงาน ส่งเสริมกิจกรรมป้องกัน เฝ้าระวังฯ สร้างภูมิคุ้มกันนักเรียน ป.4- ป.6 1) เน้นบทบาทครูผู้สอนใน โรงเรียน ( วิชาสุขศึกษา พล ศึกษา ) 2) ส่งเสริมสนับสนุนวิทยากร ป้องกันอื่นๆ อาทิ ครูตำรวจ D.A.R.E. ครูพระสอน ศีลธรรม ครูทหาร ฯลฯ 3) จัดให้มีกิจกรรมเสริม ทักษะชีวิตที่หลากหลาย เช่น กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมตามหลักศาสนาที่ ตนนับถือ กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรม เชิงบวก เป็นต้น 4) เน้นเสริมบทบาท “ คุณครู ประจำชั้น ” ในการดูแล ช่วยเหลือ เฝ้าระวัง นร. อย่าง ใกล้ชิด 1) สำรวจ ค้นหา คัดกรองนักเรียน กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มที่มีพฤติการณ์ เกี่ยวข้องกับยาเสพติด 2) ดูแลช่วยเหลือ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในรูปแบบที่เหมาะสม โดยการทำจิตสังคมบำบัดใน สถานศึกษา / ค่ายปรับเปลี่ยน พฤติกรรมนักเรียนกลุ่มเสี่ยง / เสพ ( ค่ายฉพาะนักเรียน )/ ค่าย บำบัดรักษา 3) ส่งเสริมกิจกรรมป้องกัน เฝ้าระวัง ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ได้แก่ โครงการห้องเรียนอุ่นใจ ลูกเสือต้านภัยยาเสพติด ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ตำรวจประสานงานประจำโรงเรียน กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมจิต อาสา เป็นต้น 4) พัฒนาระบบมาตรฐานกลางเพื่อ ใช้ตรวจสอบรับรองโรงเรียนป้องกัน เฝ้าระวังปัญหายาเสพติด 5) ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ศักยภาพเครือข่ายเยาวชน