โดย.. นายณัฐวัชต์ บุญมา. 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อระบบการ ให้บริการสารสนเทศนักศึกษาออนไลน์ วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ประจำปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
กองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี รายงานการวิจัย ความพึงพอใจของ นายจ้าง / ผู้ใช้บัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ รุ่นปีการศึกษา 2546 เสนอสภามหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน.
นางสาวปทุมวัลย์ เตโช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัด ลำพูน พฤติกรรมในการใช้บริการ อินเตอร์เน็ตศูนย์วิทยบริการ ของนักศึกษาวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ.
ความพึงพอใจของครูต่อการใช้โปรแกรมระบบจัดการข้อมูลสถานศึกษา Online (School Information System Advance : SISA) ในวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ โดย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีกิตติบริหารธุรกิจ Kitti Business Administration Technological College ชื่อเรื่อง “พฤติกรรมการใช้โปรแกรม Microsoft Office ของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ชื่อเรื่อง พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนไม่ ตรงต่อเวลาในวิชาการพัฒนางานด้วย ระบบ คุณภาพ - และ เพิ่มผลผลิต ของนักศึกษา ชั้น ปวส ปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาววัชราภรณ์
การใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ในรายวิชา การบัญชีตั๋วเงินของ นักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยี พณิชยการเชียงใหม่
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาและผู้ปกครองที่มีต่อ
นางสาวนิสรีน อัศวะ วิวัฒน์กุล. การปฏิบัติที่ซ้ำซ้อน มีขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ทำให้การจัดทำ เอกสารต่าง ๆ ล่าช้าและเป็นการเพิ่มภาระ งานโดยไม่จำเป็น.
โดย...นางสาวปราณี พลดาหาญ บธ 5501
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวนรินรัตน์ กล้าหาญ
ผู้วิจัย นายมณัฐ เฮ่ประโคน
การพัฒนาเว็บฝึกอบรม เรื่อง การใช้งานระบบงานทะเบียนประมวลผลและหลักสูตร
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


การศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโป ลิเทคนิคลานา เชียงใหม่ ต่ออาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็น ของนักศึกษา.
ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
นายเจตวัฒน์ สมเจริญเกียรติ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การบริหารโดยใช้รูปแบบบูรณาการด้านงานวิชาการและ การจัดการเรียนการสอน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับแก้ปัญหา การจัดทำวิจัย กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
นางสาวณัฐกานต์ ภิรมณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
in the Second Semester of 2013
ครูผู้สอนกลุ่มธุรกิจ

โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
วัตถุประสงค์การวิจัย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาระบบการให้บริการอินเทอร์เน็ตอัตโนมัติ โดยใช้รายการควบคุม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
ด้านที่ 3 การบริหารการจัดการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย.. นายณัฐวัชต์ บุญมา

1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อระบบการ ให้บริการสารสนเทศนักศึกษาออนไลน์ วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ประจำปี การศึกษา ) เพื่อนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาระบบการ ให้บริการสารสนเทศนักศึกษาออนไลน์ ให้มี ประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาต่อไป

ประชากรและกลุ่ม ตัวอย่าง นักศึกษาที่กำลังศึกษาในวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน นา เชียงใหม่ จำนวน 3,984 คน ( ฝ่ายทะเบียนและวัดผล วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่,10 มิถุนายน 2557) ซึ่งแบ่งระดับชั้น 2 ระดับ 1) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ จำนวน 2,619 คน 2) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จำนวน 1,365 คน

สรุปผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อ ระบบการให้บริการสารสนเทศนักศึกษาด้วยระบบออนไลน์ ของวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ รายการ S.D. ระดับ ความพึง พอใจ ระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ( ปวช.) ด้านการออกแบบระบบ ปาน กลาง ด้านเสถียรภาพของระบบ มาก ด้านประโยชน์ของข้อมูล สารสนเทศ มาก ระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ด้านการออกแบบระบบ ปาน กลาง ด้านเสถียรภาพของระบบ มาก ด้านประโยชน์ของข้อมูล สารสนเทศ มาก

ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ด้านการออกแบบระบบ พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับปานกลาง สามารถเรียงลำดับความพึงพอใจ ในเรื่องต่าง ๆ ได้ 3 ลำดับดังนี้ ลำดับที่ 1 กระบวนการทำงานของระบบ มีความรวดเร็วในการ เรียกใช้บริการ และการ ออกแบบให้ใช้งานง่าย เมนูไม่ซับซ้อน ลำดับที่ 2 ระบบข้อมูลเป็นหมวดหมู่ ลำดับที่ 3 ความสะดวกในการใช้งานโปรแกรม รูปแบบและวิธีการ นำเสนอข้อมูล

ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ด้านเสถียรภาพของระบบ พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ ใน ระดับมาก สามารถเรียงลำดับความพึงพอใจ ในเรื่องต่าง ๆ ได้ 3 ลำดับดังนี้ ลำดับที่ 1 ฐานข้อมูลมีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน ลำดับที่ 2 ระบบมีประสิทธิภาพ ลำดับที่ 3 ความแน่นอน เชื่อถือได้ของข้อมูล และความครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูล

ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ด้านประโยชน์ของข้อมูลสารสนเทศ พบว่า นักศึกษามีความ พึงพอใจอยู่ใน ระดับมาก สามารถเรียงลำดับความพึงพอใจ ในเรื่องต่าง ๆ ได้ 3 ลำดับดังนี้ ลำดับที่ 1 ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ลำดับที่ 2 ความสามารถของระบบ ในการนำไปใช้ประโยชน์ ลำดับที่ 3 ความพึงพอใจในภาพรวมต่อการใช้งานระบบ

ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ด้านการออกแบบระบบ พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับปานกลาง สามารถเรียงลำดับความพึงพอใจ ในเรื่องต่าง ๆ ได้ 3 ลำดับดังนี้ ลำดับที่ 1 การออกแบบให้ใช้งานง่าย เมนูไม่ซับซ้อน ลำดับที่ 2 กระบวนการทำงานของระบบ มีความรวดเร็วในการ เรียกใช้บริการ ลำดับที่ 3 ระบบข้อมูลเป็นหมวดหมู่

ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ด้านเสถียรภาพของระบบ พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ ใน ระดับมาก สามารถเรียงลำดับความพึงพอใจ ในเรื่องต่าง ๆ ได้ 3 ลำดับดังนี้ ลำดับที่ 1 ฐานข้อมูลมีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน ลำดับที่ 2 ระบบมีประสิทธิภาพ ลำดับที่ 3 ความแน่นอน เชื่อถือได้ของข้อมูล และความครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูล

ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ด้านประโยชน์ของข้อมูลสารสนเทศ พบว่า นักศึกษามีความ พึงพอใจอยู่ใน ระดับมาก สามารถเรียงลำดับความพึงพอใจ ในเรื่องต่าง ๆ ได้ 3 ลำดับดังนี้ ลำดับที่ 1 ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ลำดับที่ 2 ความสามารถของระบบในการนำไปใช้ประโยชน์ ลำดับที่ 3 ความพึงพอใจในภาพรวมต่อการใช้งานระบบ

1. ควรทำการสำรวจความพึงพอใจของผู้สอนที่ใช้งานสารสนเทศ นักศึกษาระบบออนไลน์ ของวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ 2. ควรทำการสำรวจความพึงพอใจของผู้ปกครองที่ใช้งาน สารสนเทศนักศึกษาระบบออนไลน์ของวิทยาลัยเทคโนโลยีโป ลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่