ณ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีและ อวกาศภูมิสารสนเทศ ( องค์การ มหาชน )
นายณฤบดินทร์ยินดี รหัส ประจำตัว นางสาวธิดารัตน์คชสีห์ รหัส ประจำตัว นางสาวพิชญ์ชญาลักษณ์ ว่องชิงชัย รหัส ประจำตัว นางสาวสรัญธรสุทะนะรหัส ประจำตัว
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ( องค์การมหาชน ) มีตัวย่อว่า " สทอภ." และมีชื่อ ภาษาอังกฤษ "Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (Public Organization) - GISTDA" เป็นหน่วยงานของรัฐในรูปแบบองค์การมหาชน ซึ่งมุ่งเน้นการ บริหารและดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อบริการข้อมูล ภูมิสารสนเทศ บริการวิชาการต่าง ๆ ตลอดจนการวิจัยและ พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศให้เป็นประโยชน์ต่อประชาชน
ประกอบด้วย 1 งาน 5 ฝ่าย 1) งานบริหาร ทั่วไป 2) ฝ่ายบริการ ผลิตภัณฑ์ 3) ฝ่าย ทรัพยากรธรรมชา ติ 4) ฝ่ายสิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติ 5) ฝ่ายเศรษฐกิจ 6) ฝ่ายภูมิสังคม
จัดทำแผนที่เพื่อบริการข้อมูลภูมิสารสนเทศ - แผนที่แสดงตำแหน่งจุดความร้อน (Hot Spot) แบบรายวัน แผนที่แสดงตำแหน่งจุดความร้อน (Hot Spot) แบบรายวัน - แผนที่แสดงสถาณการณ์คุณภาพอากาศจากค่า Particulate Matter (PM) แผนที่แสดงสถาณการณ์คุณภาพอากาศจากค่า Particulate Matter (PM) - แผนที่แสดงข้อมูลภาพสีผสมจริง (True Color) และสีผสม เท็จ (False Color) แผนที่แสดงข้อมูลภาพสีผสมจริง (True Color) และสีผสม เท็จ (False Color) - แผนที่แสดงข้อมูลดัชนีความแตกต่างของความชื้น (NDWI) และแผนที่แสดงข้อมูลดัชนีพืชพรรณ (NDVI) แผนที่แสดงข้อมูลดัชนีความแตกต่างของความชื้น (NDWI) และแผนที่แสดงข้อมูลดัชนีพืชพรรณ (NDVI) วิเคราะห์พื้นที่เผาไหม้จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม LANDSAT 5 วิเคราะห์พื้นที่เผาไหม้จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม LANDSAT 5 ** โปรแกรมหลักที่ใช้ในการ ปฏิบัติงาน - ArcGIS- ENVI - ERDAS IMAGINE - eCognition Developer
ข้อมูลจุดความร้อน (Hotspot) เป็นข้อมูลที่ได้มาจาก การนำภาพดาวเทียมระบบ MODIS มาทำการประมวลผล เพื่อใช้ในการจัดทำแผนที่แสดงจุดความร้อน ภายในประเทศ ซึ่งได้มาจาก 2 แหล่ง คือ 1) สถานีรับสัญญาณ ดาวเทียมลาดกระบัง 2) องค์การบริหารการบิน และอวกาศแห่งชาติ หรือ นา ซา (National Aeronautics and Space Administration - NASA)
เมื่อได้ข้อมูล Hot Spot แล้วก็จะนำมาจัดทำเป็นแผนที่ ด้วยโปรแกรม ArcGIS โดยแผนที่ตำแหน่งจุดความร้อนนี้จะ แสดงจุดความร้อนและสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศจากกรม ควบคุมมลพิษ โดยรอภาพดาวเทียมจากศรีราชาซึ่งเป็นภาพ จากดาวเทียม TERRA และ AQUA ระบบ MODIS อัพโหลด ผ่านทางฐานข้อมูลของ GISTDA แล้วนำมาทำ Geo Referencing ก่อนนำมาใช้จัดทำแผนที่ร่วมกับข้อมูล Hot Spot
การจัดทำแผนที่ อาศัยข้อมูลค่า PM ซึ่ง ได้มาจากภาพดาวเทียม AQUA อัพโหลดผ่านทาง ฐานข้อมูลของ GISTDA แล้วนำมาจัดทำแผนที่เป็น ประจำทุกวันดังภาพ
แผนที่ข้อมูลภาพ สีผสมจริง (True Color) และสีผสมเท็จ (False Color) เป็นการนำภาพสี ผสมจริงและภาพสีผสม เท็จที่ได้จากการทำ Geo Referencing ของ ภาพดาวเทียมทั้ง TERRA และ AQUA มา จัดทำเป็นแผนที่
แผนที่ NDVI และแผนที่ NDWI นั้น ได้จากการนำ ข้อมูลภาพที่ผ่านกระบวนการปรับแก้เชิงภูมิศาสตร์จนได้ ภาพที่สามารถแสดงผลค่า NDVI และค่า NDWI แล้วมา จัดทำเป็นแผนที่ โดยมีการปรับชุดสีตามที่ GISTDA กำหนดดังภาพ
วิธีการประเมินพื้นที่เสี่ยงภัย การประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยไฟ ป่าโดยใช้โปรแกรม eCognition Developer ซึ่งมีการวิเคราะห์ ขั้นตอน ดังนี้ 1. Mosaic Images ( การ Mosaic ภาพอาศัยโปรแกรม ERDAS IMAGINE) 2. Classification 3. ตรวจสอบความถูก ต้องด้วยตาเปล่า
นักศึกษาได้ทดลองดำเนินการวิเคราะห์พื้นที่เผาไหม้ (Burnt Scar) ซึ่งสามารถวิเคราะห์ได้จากช่วงคลื่นอินฟราเรด กลาง (Middle Infrared) และช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้ (Near Infrared) จากข้อมูลดาวเทียม LANDSAT 5 ครอบคลุม บริเวณพื้นที่ 10 จังหวัดภาคเหนือ โดยการใช้วิธี Object oriented classification พร้อมกับตรวจสอบความถูกต้องของ ผลการวิเคราะห์ด้วยสายตา
นักศึกษาควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ โปรแกรม ArcGIS ENVI eCognition Developer ERDAS IMAGINE
ขอบคุณค่ะ / ครับ