งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัด: การเฝ้าระวังปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10) ตามมาตรฐานค่าเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ

2 ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ตัวชี้วัดสากลที่ US CDC, WHO Framework, European Commission และหลายประเทศ อาทิ อังกฤษ แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ได้นำไปใช้ ประเทศไทยใช้ประเมินผลการบรรลุเป้าหมาย SDG, NEHAP 3, แผน CC (สธ.) เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10 สถานการณ์หมอกควันมีความรุนแรง (หมอกควันภาคเหนือ/ภาคใต้) ส่งผลกระทบ ในวงกว้าง นโยบายรัฐบาลกำหนดให้จัดการปัญหาแบบบูรณาการ มีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบประจำที่ครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด มีทุกภาค (32 จังหวัด 58 สถานี) ทุกสถานีฯ สามารถตรวจวัด PM10 ได้ แสดงผลอัตโนมัติ Real Time รายชั่วโมง ข้อมูลมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ (คพ. รับรอง) เข้าถึงแหล่งข้อมูลได้สะดวก สามารถสืบค้นย้อนหลังได้ มีมาตรฐานค่าเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจาก PM10

3 วัตถุประสงค์ แหล่งข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย
เพื่อเฝ้าระวังปริมาณ PM10 ตามมาตรฐานค่าเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก กลุ่มเป้าหมาย จังหวัดที่มีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบประจำที่ (32 จังหวัด 58 สถานี) แหล่งข้อมูล กรมควบคุมมลพิษ (air4thai.com รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศประจำปี) ปริมาณ PM10 พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เกณฑ์แนะนำ WHO พ.ศ. 2549 ค่าเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจาก PM10 กรมอนามัย พ.ศ. 2558 ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Mean) 120 มคก./ลบ.ม. 50 มคก./ลบ.ม. แบ่งตามความรุนแรง 5 ระดับ ค่าเฉลี่ย 1 ปี (ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต) 20 มคก./ลบ.ม. -

4 การดำเนินงาน พื้นที่วิกฤตหมอกควัน (9 จังหวัดภาคเหนือ) เก็บข้อมูล
ใช้ค่าเฉลี่ย PM10 (Mean) จาก air4thai.com เวลา น. ของทุกวัน ในช่วงวิกฤตหมอกควัน วิเคราะห์ เปรียบเทียบมาตรฐานค่าเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพของกรมอนามัย ทำ Info graphic ระดับผลกระทบต่อสุขภาพและคำแนะนำการปฏิบัติตัว เผยแพร่ สื่อสาร/เตือนภัยผลกระทบต่อสุขภาพผ่าน Website, FB, Line Group แก้ไข ติดตาม/ประเมินสถานการณ์ (จำนวนวันที่เกิน ค่าสูงสุด เชื่อมโยงกับการเจ็บป่วยของประชาชนในพื้นที่) บูรณาการกับภาคีเครือข่าย (ทั้งในและนอกภาคสาธารณสุข) ร่วมกันจัดการปัญหา

5 การดำเนินงาน พื้นที่ทั่วไป (32 จังหวัด) เก็บข้อมูล วิเคราะห์ เผยแพร่
ค่าเฉลี่ย PM10 รายปี (Geometric Mean) จาก air4thai.com วิเคราะห์ เปรียบเทียบมาตรฐานค่าเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพตามกม.สิ่งแวดล้อม วิเคราะห์เชื่อมโยงกับการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจรายจังหวัด เผยแพร่ แผนที่ความเสี่ยงแสดงผลกระทบต่อสุขภาพจาก PM10 เผยแพร่ใน DoH Dashboard, Website และรายงานสถานการณ์ อวล. แก้ไข ร่วมวางมาตรการแก้ไข/ลดผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศกับภาคีเครือข่ายแต่ละระดับ (ใน/นอกภาคสาธารณสุข) ติดตาม/ประเมินสถานการณ์ในภาพรวมและระดับพื้นที่ บูรณาการกับภาคีเครือข่าย และร่วมกันจัดการปัญหา

6 การใช้ประโยชน์ การประเมินผล ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประเมินสถานการณ์มลพิษอากาศ (ในภาพรวมและระดับพื้นที่) เป็นข้อมูลใช้สื่อสาร/เตือนภัยและแนะนำประชาชน/กลุ่มเสี่ยงให้หลีกเลี่ยงหรือป้องกัน การรับสัมผัส เมื่อพบว่ามีค่าเกินมาตรฐาน เป็น Trigger Point เปิด EOC ของหน่วยงานต่างๆ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ (คาดการณ์ผลกระทบในอนาคต) การประเมินผล ช่วงวิกฤติหมอกควัน: จัดทำสรุปผลการเฝ้าระวังรายงานที่ประชุมกรมฯ เดือนละ 1 ครั้ง ทั่วไป: จัดทำสรุปรายงานผลการเฝ้าระวังรายปี และนำไปเชื่อมกับข้อมูลด้านสุขภาพ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนได้รับข้อมูลสถานการณ์มลพิษอากาศและปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง ทราบสถานการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพและการเจ็บป่วยจากการได้รับมลพิษทางอากาศ ในภาพรวมและระดับพื้นที่


ดาวน์โหลด ppt ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google