งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
22 สิงหาคม 2557 ภก.ธิติ ทุมเสน กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลสรรสิทธิประสงค์ 04/10/62

2 Outlines วัตถุประสงค์ Dataset Program และ การส่งต่อข้อมูล Website
ข้อแนะนำอื่นๆ 04/10/62

3 วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาระหว่างโรงพยาบาลในจังหวัดอุบลราชธานี 04/10/62

4 DataSet (ข้อมูลการแพ้ยา)
04/10/62

5 DataSet (ข้อมูล Person)
04/10/62

6 Programและการส่งต่อข้อมูล
ขั้นตอนการแลกเปลี่ยนข้อมูล โรงพยาบาลแหล่งข้อมูลส่งออกข้อมูล แฟ้ม ADR.TXT แฟ้ม PERSON.TXT Program ส่งข้อมูลไปฐานข้อมูล Website สืบค้น,บันทึก,แจ้งหมายเหตุ,เอกสารความรู้ ผ่าน Website 04/10/62

7 Programและการส่งต่อข้อมูล
ตัวอย่างไฟล์ ADR.TXT , PERSON.TXT 04/10/62

8 Programและการส่งต่อข้อมูล
ตัวอย่างไฟล์ ADR.TXT , PERSON.TXT 04/10/62

9 โปรแกรมส่งออกข้อมูลการแพ้ยา
ภก.อรรถกร บุญแจ้ง เภสัชกร ชำนาญการ โรงพยาบาลมหาชนะชัย 04/10/62

10 โปรแกรมส่งออกข้อมูลการแพ้ยา
ทำงานร่วมกับฐานข้อมูล HOSxp ใช้งานบน Web browser ทุกประเภท รองรับการทำงานบนระบบปฏิบัติการทุกประเภท พัฒนาจาก php+Ajax+Mysql 04/10/62

11 Coppy โฟล์ดเดอร์โปรแกรม แล้วนำไปวางที่ root ของ web server
วิธีการติดตั้ง ติดตั้งโปรแกรมจำลอง Web server เช่น Appserv , IIS,XAMPP หรือ Apache (server) Coppy โฟล์ดเดอร์โปรแกรม แล้วนำไปวางที่ root ของ web server ปรับแต่งค่าการเชื่อมต่อฐานข้อมูล ใน Connections/hos.php ดังนี้ $hostname_hos = “IP ของฐานข้อมูล"; $database_hos = “ชื่อฐานข้อมูล"; $username_hos = “user"; $password_hos = “password"; $hos = mysql_pconnect($hostname_hos, $username_hos, $password_hos) or trigger_error(mysql_error(),E_USER_ERROR); mysql_query("SET NAMES utf8"); // หากฐานข้อมูลมี Default character เป็น TIS620 ก็ให้เปลี่ยนเป็น tis620 04/10/62

12 วิธีใช้งาน เข้าใช้งาน http://IP-Address/allergy_nhso/index.php
เข้าใช้งาน 04/10/62

13 2. เลือกช่วงวันที่ที่ต้องการส่งออกข้อมูล จากนั้นเลือก “แสดงข้อมูล”
วิธีใช้งาน 2. เลือกช่วงวันที่ที่ต้องการส่งออกข้อมูล จากนั้นเลือก “แสดงข้อมูล” 1 2 3 04/10/62

14 วิธีใช้งาน 3. ตรวจสอบความเรียบร้อยของข้อมูลที่แสดงตามตาราง หลังจากนั้นให้เลือกปุ่ม “ส่งออกข้อมูล” - ทุกครั้งที่มีการส่งออกข้อมูลใหม่ ให้ทำการส่งออกข้อมูลประชากรด้วยทุกครั้ง เนื่องจากจะเป็น ฐานข้อมูลประชากรเพื่อให้มีการเชื่อมโยงกับข้อมูลการแพ้ยาที่ส่งออกได้ 1 2 เมื่อคลิ๊กที่ช่อง “ส่งออก person” จะมีข้อความเตือน “การส่งออกข้อมูลประชากรจะส่งออกเท่ากับจำนวนของผู้ป่วยที่เกิด ADR ดังนั้นอาจจะใช้เวลานานถ้าหากข้อมูลผู้ป่วยที่เกิด ADR ในช่วงที่เลือกมีจำนวนมาก” 04/10/62

15 คลิ๊กที่รูป zip เพื่อทำการดาว์นโหลด
วิธีใช้งาน 4. เมื่อส่งออกข้อมูลเสร็จสิ้นระบบจะทำการบีบอัดข้อมูลในรูปแบบ .zip ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ ADRxxxxx_ _ zip xxxxx = รหัสโรงพยาบาล = วันที่ส่งออกข้อมูล ปี ค.ศ.-เดือน-วันที่ = เวลาที่ส่งออกข้อมูล เวลา(ชั่วโมง)-นาที-วินาที คลิ๊กที่รูป zip เพื่อทำการดาว์นโหลด หากคลายไฟล์ zip จะพบไฟล์ 2 ไฟล์ คือ adr.txt และ person.txt(หากส่งออก person) 04/10/62

16 วิธีใช้งาน หากต้องการข้อมูลย้อนหลังที่ได้ทำการส่งออกเรียบร้อย สามารถ copy ข้อมูลย้อนหลังได้ที่ “root/allergy_nhso/export/” ซึ่งจะพบว่ามีข้อมูลที่เคยถูกส่งออกแล้วดังภาพ 04/10/62

17 Programและการส่งต่อข้อมูล
04/10/62

18 Programและการส่งต่อข้อมูล
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 04/10/62

19 Programและการส่งต่อข้อมูล
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 04/10/62

20 Programและการส่งต่อข้อมูล
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 04/10/62

21 Programและการส่งต่อข้อมูล
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 04/10/62

22 Programและการส่งต่อข้อมูล
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 04/10/62

23 Programและการส่งต่อข้อมูล
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 04/10/62

24 Programและการส่งต่อข้อมูล
ขั้นตอนการใช้โปรแกรม 04/10/62

25 Website 04/10/62

26 Website 04/10/62

27 Website 04/10/62

28 วิธีบันทึกข้อมูลการแพ้ยาเพื่อการส่งออกข้อมูลที่สมบูรณ์สำหรับ HOSxp
ข้อแนะนำอื่นๆ วิธีบันทึกข้อมูลการแพ้ยาเพื่อการส่งออกข้อมูลที่สมบูรณ์สำหรับ HOSxp บันทึกข้อมูลตามกรอบสีแดงให้ครบถ้วน เภสัชกรก่อนที่จะทำการบันทึกควรตรวจสอบการ login ว่าใช่ชื่อของเภสัชกรที่จะทำการประเมินหรือไม่ รหัสยา หากเลือกจากรายการยา เมื่อส่งออกจะมีการส่งออกรหัสด้วย แต่หากมีการพิมพ์ชื่อยาแบบอิสระ ก็จะไม่มีการส่งออกรหัสยา HOSxp ไม่มีรหัสการแพ้ยาอ้างอิงจาก อย. (ADRTERM) และประเภท ADR (ADRTYPE) PHAENOTE คือการพิมพ์รายละเอียดบนช่องหมายเหตุ **** ไม่ควร enter เพื่อให้ขึ้นบรรทัดใหม่ แต่สามารถเว้นวรรคได้ เนื่องจากหากมีการ enter เมื่อมีการส่งออกและนำเข้าข้อมูลจะพบว่าไม่สามารถนำเข้าข้อมูลได้ pharnote 04/10/62

29 ข้อแนะนำอื่นๆ การบันทึกข้อมูลแพ้ยาผ่านโปรแกรมของระบบต่างๆ 1. HOMC
04/10/62

30 ข้อแนะนำอื่นๆ 04/10/62

31 ข้อแนะนำอื่นๆ 04/10/62

32 ข้อแนะนำอื่นๆ การบันทึกข้อมูลแพ้ยาผ่านโปรแกรมของระบบต่างๆ 1. HOMC
04/10/62

33 Thank You Q&A Link สำหรับ Download ไฟล์ทั้งหมด 04/10/62


ดาวน์โหลด ppt ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google