งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
บทที่2 ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว

2 ความหมาย ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวหมายถึง วิชาที่ว่าด้วย การศึกษาและอธิบายปัจจัยทาง ภูมิศาสตร์ ทั้งทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพล ต่อการเคลื่อนที่ ชั่วคราวของ มนุษย์ เพื่อประโยชน์ในการวางแผน ดำเนินงาน และพัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยว เข้าใจองค์ประกอบทางภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อการท่องเที่ยว เช่นภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สถานที่ตั้ง ปัจจัยทางด้านวัฒนธรรม คือประวัติความเป็นมา สิ่งที่น่าสนใจ เส้นทาง คมนาคม ระยะทาง ความหมายของสัญลักษณ์ในแผนที่ (สมยศ วัฒนากมลชัย 2558 , 4)

3 สิ่งที่ควรรู้ในเชิงภูมิศาสตร์
ที่ตั้งของแหล่งท่องเที่ยว ลักษณะภูมิประเทศของแหล่งท่องเที่ยว ลักษณะภูมิอากาศของแหล่งท่องเที่ยว ความสัมพันธ์ของแหล่งท่องเที่ยวกับสถานที่อื่น เวลาที่เหมาะสมในการเดินทางไปแหล่งท่องเที่ยว วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นของแหล่งท่องเที่ยว ช่องทางการหาข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว เหตุการณ์ปัจจุบันของแหล่งท่องเที่ยว

4 ที่ตั้งของแหล่งท่องเที่ยว
การบอกแหล่งที่ตั้งสามารถทำได้ 2 วิธี การบอกที่ตั้งสัมพันธ์(Relative Location) เช่นทราบว่าแหล่งท่องเที่ยวนั้นอยู่ สถานที่ใด เช่น ประเทศไทยอยู่ติดกับประเทศลาว เมียนม่าร์ กัมพูชา มาเลเซีย การบอกที่ตั้งสัมพัทธ์(Absolute Location) เป็นการอ้างอิงจากกริดทาง ภูมิศาสตร์ คือยึดเส้น ลองจิจูด และ ละติจูด เพื่อหาพิกัดทางภูมิศาสตร์ของสถานที่นั้น เช่น กรุงเทพฯ ตั้งอยู่ ที่พิกัด ละติจูด 13 45 ‘ เหนือ และลองจิจูด 10030‘

5 ลักษณะภูมิประเทศของแหล่งท่องเที่ยว
พื้นน้ำ 70% มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ ทะเลสาบ อ่าว บ่อน้ำร้อน น้ำตก พื้นดิน ทวีป เกาะ คาบสมุทรหรือแหลม ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบ พืชพรรณ ป่าไม่พลัดใบ ป่าพลัดใบ ทุ่งหญ้า ทุ่งหญ้าสะวันนา ทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย ทุ่ง หญ้าแพรรี่ ทะเลทราย ทุนดรา

6 ทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ1 คือ ทวีปเอเชีย ทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ2 คือ ทวีปแอฟริกา ทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ3 คือ ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ4 คือ ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ5 คือ ทวีปแอนตาร์กติกา ทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ6 คือ ทวีปยุโรป  ทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ7 คือ ทวีปออสเตรเลีย

7 https://youtu.be/T30IhirXYgQ

8

9 ลักษณะภูมิอากาศของแหล่งท่องเที่ยว
สภาพอากาศจะเป็นตัวกำหนดกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวสามารถทำได้ แบ่งได้ดังนี้ ตามปริมาณน้ำฝนและทิศทางลม เขตภูมิอากาศแบบร้อนชื้น เขตภูมิอากาศแบบแห้งแล้ง เขตภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น เขตภูมิอากาศแบบเย็นชื้น เขตภูมิอากาศแบบขั้วโลก

10 ความสัมพันธ์ของแหล่งท่องเที่ยวกับสถานที่อื่น
เปรียบเทียบด้านเวลา ระบบ 24 ชม. เริ่มตั้งแต่ เที่ยงคืนถึง คือ 1 นาทีก่อน เที่ยงคืน และอีก ระบบ คือ AM/PM เช่น 0-12 AM AM (Ante Meridiem) ใช้เวลา หลังเที่ยงคืน ถึง ก่อนเที่ยงวัน PM (Post Meridiem) ใช้เวลา หลังเที่ยงวัน ถึง ก่อนเที่ยงคืน 11.59 AM คือ 10.36 PM คือ เปรียบเทียบด้านตัวเลข เช่นระยะทางจากจุดเริ่มต้นถึงจุดหมายปลายทาง

11 เวลาที่เหมาะสมในการเดินทางไปแหล่งท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยวควรหลีกเลี่ยงการท่องเที่ยวทางทะเลในหน้ามรสุม งานประเพณีจัดขึ้นในช่วง ใด สำหรับทะเลอันดามัน ฤดูท่องเที่ยว คือ ปลายเดือนพฤศจิกายน - ปลายเดือนเมษายน สำหรับฝั่งอ่าวไทยฤดูท่องเที่ยว คือ ปลายเดือนเมษายน – ปลายเดือนตุลาคม ทะเลตะวันออก (ตราด/ระยอง)  - ฤดูท่องเที่ยว คือ ปลายเดือนพฤศจิกายน - ปลายเดือนเมษายน

12 วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นของแหล่งท่องเที่ยว
แห่เทียนเข้าพรรษาที่อุบลราชธานี เดือน กค

13 ช่องทางการหาข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย หน่วยราชการในท้องที่ Travel Agency

14 เหตุการณ์ปัจจุบันของแหล่งท่องเที่ยว
ติดตามข่าวสาร เรื่องภัยธรรมชาติ เหตุก่อจราจล


ดาวน์โหลด ppt ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google